วารสารวัฒนธรรม เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๗ - page 99
99
เมษายน-มิ
ถุ
นายน ๒๕๕๗
๔
๕
๖
เส้
นทางสายนี้
มี
ปราสาทส�
ำคั
ญหลายแห่
งตั้
งอยู่
เรี
ยกกั
นว่
า
“เส้
นทางชั
ยวรมั
น”” หรื
อเส้
นทางแห่
งธรรมกษั
ตริ
ย์
ผู้
ยิ่
งใหญ่
คื
อพระเจ้
าชั
ยวรมั
นที่
๗
ทั้
งนี้
จุ
ดที่
นั
กโบราณคดี
ไทยสั
นนิ
ษฐานว่
าเป็
น
โรงพยาบาลชุ
มชน หรื
อ อโรคยศาลาจุ
ดแรก ที่
อยู
่
ในเขตแดน
ประเทศไทยปั
จจุ
บั
น คื
อกลุ
่
มปราสาทตาเมื
อน จั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
ส่
วนอโรคยศาลาแห่
งที่
๑๗ หรื
อแห่
งสุ
ดท้
าของเส้
นทาง
ตั้
งอยู
่
ห่
างจากตั
วปราสาทพิ
มายไปทางทิ
ศตะวั
นออกเฉี
ยงใต้
นอกเขตก�
ำแพงเมื
องพิ
มาย ปั
จจุ
บั
นชาวบ้
านเรี
ยก “กุ
ฏิ
ฤาษี
”
ตามหลั
กฐานในศิ
ลาจารึ
กระบุ
ว่
า ปราสาทหิ
นพิ
มาย
สร้
างในรั
ชสมั
ยพระเจ้
าสุ
ริ
ยวรมั
นที่
๑ ซึ่
งทรงครองราชย์
พ.ศ.๑๕๔๕ – ๑๕๙๓ ตั
วปราสาทมี
ลั
กษณะเป็
นปรางค์
ที่
สร้
างถวายเป็
นที่
ประทั
บของเทพเจ้
าตามคติ
ฮิ
นดู
แต่
ใจกลางปรางค์
ประธานประดิ
ษฐานพระพุ
ทธรู
ปนาคปรก
ลวดลายแกะสลั
กหิ
นรอบปราสาทส่
วนใหญ่
เล่
าเรื
่
องมหากาพย์
ในศาสนาฮิ
นดู
เช่
น มหากาพย์
รามายณะ หรื
อ “รามเกี
ยรติ์
”
แต่
ภายในปราสาทส่
วนใหญ่
แกะสลั
กภาพพระพุ
ทธเจ้
า และ
พระโพธิ
สั
ตว์
ในศาสนาพุ
ทธฝ่
ายมหายาน อาทิ
พระโพธิ
สั
ตว์
ไตรโลกยวิ
ชั
ย ผู้
ขจั
ดความโลภ โกรธ หลงในใจมนุ
ษย์
ฯลฯ
จึ
งกล่
าวได้
ว่
า “พิ
มาย” เป็
นปราสาทหิ
นที่
สร้
าง
ถวายพระพุ
ทธเจ้
าของชาวมหายาน โดยจั
ดเป็
นศิ
ลปะเขมร
แบบ “บาปวน” (บา-ปวน) ซึ่
งเป็
นยุ
คก่
อนนครวั
ด
I...,89,90,91,92,93,94,95,96,97,98
100,101,102,103,104,105,106,107,108,109,...122