46
วั
ฒนธ รม
มวยพระเจ้
าเสื
เป็
นเรื่
องยากชี้
ชั
ดว่
ามวยไทยถื
อก�
ำเนิ
ดขึ้
นเมื่
อใด  หรื
มี
บุ
คคลกลุ
มใดเป็
นผู
ริ
เริ่
ม  ในยุ
คก่
อนชายฉกรรจ์
ไทยแทบ
ทุ
กคน ไม่
ว่
าจะมี
ฐานั
นดรกษั
ตริ
ย์
 ขุ
นนาง เจ้
านาย ขุ
นทหาร
หรื
อสามั
ญชน ต่
างได้
รั
บการฝึ
กฝนมวยไทยไว้
เพื่
อป้
องกั
นตั
และบ้
านเมื
อง  โดยมี
การฝึ
กร่
วมกั
บอาวุ
ธ เช่
น กระบี่
กระบอง
พลอง ดาบ อั
นจะเป็
นการเพิ่
มพลานุ
ภาพให้
กั
บอาวุ
ธเหล่
านั้
น 
โดยเฉพาะในการต่
อสู
ระยะประชิ
ด จึ
งเชื่
อกั
นว่
าการเรี
ยน
มวยไทยสมั
ยโบราณต้
องฝึ
กร่
วมอยู
ในส�
ำนั
กดาบ  ด้
วยถื
อว่
เพลงมวยและเพลงดาบเป็
นส่
วนหนึ่
งของศิ
ลปะการต่
อสู
“ไทยยุ
ทธ” หรื
อ “พหู
ยุ
ทธ” อั
นเป็
นศิ
ลปะการต่
อสู้
ของนั
กรบ
โบราณ
สมเด็
จพระเจ้
าสรรเพชญ์
ที่
 ๘ หรื
อ “พระเจ้
าเสื
อ” แห่
กรุ
งศรี
อยุ
ธยา เป็
นกษั
ตริ
ย์
พระองค์
หนึ่
งที่
ได้
รั
บการกล่
าวขวั
ถึ
งในชั้
นเชิ
งมวยด้
วยทรงฝึ
กมวยไทยตั้
งแต่
ทรงพระเยาว์
เคยปลอมพระองค์
ไปชกมวยกั
บชาวบ้
าน กระทั่
งขึ้
นครอง 
ราชสมบั
ติ
แล้
วก็
ยั
งทรงพอพระทั
ยในการทอดพระเนตรการ
ชกมวย 
กระทั่
งในปี
 พ.ศ. ๒๕๕๓ หลั
งจากที่
กรมส่
งเสริ
วั
ฒนธรรมได้
ประกาศขึ้
นทะเบี
ยนมวยไทยเป็
นมรดก
ภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม จึ
งมี
การเสนอให้
สถาปนา 
“วั
นมวยไทย” ขึ้
นโดยก�
ำหนดเอาวั
นที่
 ๖ กุ
มภาพั
นธ์
 ของ 
ทุ
กปี
 อั
นตรงกั
บวั
นเสด็
จขึ้
นครองราชย์
ของสมเด็
จพระเจ้
า 
สรรเพชญ์
ที่
๘ หรื
อ “พระเจ้
าเสื
อ” (วั
นที่
 ๖ กุ
มภาพั
นธ์
 พ.ศ.
๒๒๔๕) ผู
ทรงพระปรี
ชาในชั้
นเชิ
งมวยไทย และทางคณะ
รั
ฐมนตรี
ได้
มี
มติ
เห็
นชอบเมื่
อวั
นที่
 ๓ พฤษภาคม พ.ศ.
๒๕๕๔ ก�
ำหนดให้
วั
นที่
 ๖ กุ
มภาพั
นธ์
 ของทุ
กปี
 เป็
น “วั
มวยไทย” 
มวยไทยในพงศาวดาร
มวยไทยยุ
คกรุ
งศรี
อยุ
ธยาราชธานี
นี้
เรี
ยกได้
ว่
าเป็
นยุ
รุ
งเรื
องของมวยไทย  มี
การฝึ
กมวยไทยกั
นอย่
างกว้
างขวาง
มี
นั
กมวยฝี
มื
อดี
เกิ
ดขึ้
นจ�
ำนวนมาก  ชื่
อหนึ่
งเป็
นต�
ำนานจารึ
ในประวั
ติ
ศาสตร์
คื
อ “นายขนมต้
ม”
1...,38,39,40,41,42,43,44,45,46,47 49,50,51,52,53,54,55,56,57,58,...124