นิตยสารวัฒนธรรม ฉบับ ๔ ปีพ.ศ.๒๕๕๗ - page 61
61
“ ชา ว ไ ทย เ บิ
้
งมี
ภาษาพู
ดคล ้
ายกั
บ
ภาษาไทยภาคกลาง แต่
มี
เสี
ยงวรรณยุ
กต์
ต่
างไป
และนิ
ยมลงท้
ายประโยคด้
วยค�
ำว่
า เบิ
้
ง ด๊
อก เหว่
ย
เด๊
อ มี
ผู
้
เรี
ยกภาษานี้
ในชื
่
ออื่
นว่
า ภาษาไทยเดิ้
ง
หรื
อภาษาไทยโคราช”
ภาษาไทยเบิ้
งเป็
นภาษาไทยถิ่
นในภาษาตระกู
ลไท
กลุ
่
มคนที่
พู
ดภาษานี้
ส่
วนใหญ่
อาศั
ยอยู
่
ในจั
งหวั
ดนครราชสี
มา
ยกเว้
นอ�
ำเภอบั
วใหญ่
และอ�
ำเภอปั
กธงชั
ย ซึ่
งใช้
ภาษาไทย
ถิ่
นอี
สาน และมี
บางส่
วนในจั
งหวั
ดชั
ยภู
มิ
เช่
น อ�
ำเภอจั
ตุ
รั
ส
และอ�
ำเภอบ�
ำเหน็
จณรงค์
ในจั
งหวั
ดบุ
รี
รั
มย์
เช่
น อ�
ำเภอ
นางรอง อ�
ำเภอพุ
ทไธสง อ�
ำเภอล�
ำปลายมาศ อ�
ำเภอสะตึ
ก
และยั
งมี
ผู
้
พู
ดบางส่
วนในจั
งหวั
ดปราจี
นบุ
รี
โดยจะเรี
ยก
ภาษาที่
ใช้
พู
ดว่
า “ภาษาไทยโคราช” ส่
วนกลุ
่
มคนที
่
ย้
าย
ถิ่
นฐานจากจั
งหวั
ดนครราชสี
มาไปอาศั
ยอยู
่
ในจั
งหวั
ดลพบุ
รี
จั
งหวั
ดสระบุ
รี
และจั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
จะเรี
ยกภาษาและกลุ
่
มคนว่
า
“ไทยเบิ้
ง” อย่
างไรก็
ตามจากหลั
กฐานการศึ
กษาพบว่
า
ภาษาไทยโคราชกั
บภาษาไทยเบิ้
งเป็
นภาษาที่
มี
ความใกล้
เคี
ยงกั
นมากจนอาจจะกล่
าวได้
ว่
าเป็
นภาษาเดี
ยวกั
น (ธวั
ช
ปุ
ณโณฑก, ๒๕๓๘ และ สุ
ธาทิ
พย์
ธี
รานุ
วรรต์
, ๒๕๔๕)
ในที่
นี้
จะกล่
าวถึ
งเฉพาะภาษาไทยเบิ้
งที่
พู
ดกั
นที่
ต�
ำบลโคก
สลุ
ง อ�
ำเภอพั
ฒนานิ
คม จั
งหวั
ดลพบุ
รี
ซึ่
งมี
ประชากรทั้
งหมด
ประมาณ ๑๑,๓๐๐ คน (ข้
อมู
ลจากองค์
การบริ
หารส่
วนต�
ำบล
โคกสลุ
ง, ๒๕๕๗)
I...,51,52,53,54,55,56,57,58,59,60
62,63,64,65,66,67,68,69,70,71,...122