นิตยสารวัฒนธรรม ฉบับ ๔ ปีพ.ศ.๒๕๕๗ - page 101
101
ภั
ทรพล รอดคลองตั
น
วั
ฒนธรรมวิ
พากษ์
ขณะนี้
เราพร้
อมหรื
อยั
งที
่
จะรวมตั
วกั
บประเทศอื
่
นๆ ในประชาคมอาเซี
ยน
อยากให้
อาจารย์
วิ
พากษ์
ทั
้
งจุ
ดอ่
อน จุ
ดแข็
งของเรา
การรวมตั
วกั
นเป็
นประชาคมอาเซี
ยนไม่
ใช่
ว่
า
ใครพร้
อมหรื
อไม่
เท่
านั้
น แต่
ต้
องถามว่
าทุ
กประเทศใน
ทั้
งประชาคมว่
า พร้
อมแล้
วหรื
อยั
ง และที่
ส�
ำคั
ญกว่
านั้
นคื
อ
ค�
ำถามที่
ว่
า ความพร้
อมที่
ว่
านั้
นเอื้
อประโยชน์
ให้
กั
บใคร
ความพร้
อมของการเข้
าสู
่
ประชาคมอาเซี
ยน
ส่
วนหนึ่
งมาจากความพร้
อมทางการเมื
อง ดั
งที่
เราจะเห็
นว่
า
ประเทศสมาชิ
กอาเซี
ยนหลายๆ ประเทศที่
เป็
นสมาชิ
กใหม่
เช่
น เวี
ยดนามและพม่
า ได้
ปรั
บตั
วทางการเมื
องอย่
าง
ขนานใหญ่
เพื่
อเข้
าสู่
การเป็
นส่
วนหนึ่
งของอาเซี
ยน เริ่
มจาก
เวี
ยดนามที่
ปรั
บประเทศให้
เป็
นระบบเศรษฐกิ
จการตลาด
แม้
ว่
าจะยั
งคงการปกครองแบบสั
งคมนิ
ยมอยู
่
ท�
ำให้
เวี
ยดนามกลายเป็
นเศรษฐกิ
จการตลาดภายใต้
การก�
ำกั
บ
ของรั
ฐ แม้
ไม่
ใช่
ทุ
นนิ
ยมเสรี
ที่
ส�
ำคั
ญคื
อยอมให้
เอกชนเป็
น
เจ้
าของธุ
รกิ
จได้
ยอมให้
มี
การร่
วมทุ
นระหว่
างทุ
นต่
างประเทศ
กั
บทุ
นท้
องถิ่
นได้
ยอมให้
เงิ
นตราไหลเวี
ยนอย่
างเสรี
ได้
ส่
วนประเทศพม่
า ก็
อยู
่
ในระหว่
างการปรั
บตั
วและปฏิ
รู
ป
การเมื
องที่
เชื่
อกั
นว่
าจะท�
ำให้
พม่
ากลายเป็
นประเทศ
ประชาธิ
ปไตยมากขึ้
น เป็
นที่
ยอมรั
บของนานาชาติ
ที่
จะคบค้
าสมาคมด้
วยมากขึ้
น
อย่
างไรก็
ดี
ความไม่
มั่
นคงทางการเมื
องยั
งคง
เป็
นอุ
ปสรรคส�
ำคั
ญต่
อความพร้
อมของแต่
ละประเทศเอง
และของประชาคมอาเซี
ยน ความไม่
ต่
อเนื่
องของกระบวนการ
ประชาธิ
ปไตยอาจท�
ำให้
ประเทศถู
กลดความน่
าเชื่
อถื
อ
ลงได้
และกลายเป็
นประเทศที่
ไม่
มี
ความมั่
นคงในทาง
นโยบายเศรษฐกิ
จและการเมื
อง
นอกจากนั้
น ประเทศต่
างๆ ในอาเซี
ยนก็
ยั
งคงมี
ความพร้
อมทางเศรษฐกิ
จไม่
เท่
ากั
น เนื
่
องจากยั
งคงมี
ฐาน
ทางการเมื
องและเศรษฐกิ
จที่
แตกต่
างกั
น ในทางเศรษฐกิ
จ
เราอาจแบ่
งประเทศอาเซี
ยนออกเป็
นประเทศกลุ
่
มยากจน
ได้
แก่
ลาว กั
มพู
ชา และพม่
า ประเทศกลุ่
มฐานะปานกลาง
ได้
แก่
ไทย เวี
ยดนาม อี
นโดนี
เซี
ย และฟิ
ลิ
ปปิ
นส์
และ
ประเทศค่
อนข้
างมั่
งคั่
งถึ
งมั่
งคั่
งมากอย่
างบรู
ไน มาเลเซี
ย
และสิ
งคโปร์
ความแตกต่
างกั
นนี้
จะท�
ำให้
บางประเทศยั
งคง
ลั
งเลที่
จะเข้
าร่
วมในการเป็
นประชาคมอย่
างชั
ดเจน เนื
่
องจาก
เขาอาจจะกลายเป็
นผู
้
ที่
ต้
องแบกรั
บภาระทางเศรษฐกิ
จ
ต้
องดู
ดซั
บแรงงาน ต้
องแบ่
งเบาภาระในการโอบอุ
้
ม
ช่
วยเหลื
อทางการเงิ
นแก่
ประเทศยากจนกว่
า กรณี
นี้
เกิ
ด
ขึ้
นกั
บประเทศไทย ซึ่
งมั
กมี
ความกั
งวลเกี่
ยวกั
บความมั่
นคง
อั
นเนื่
องมาจากการมี
แรงงานอพยพจากประเทศเพื่
อนบ้
าน
เข้
ามาอาศั
ยอยู่
เป็
นจ�
ำนวนมาก
I...,91,92,93,94,95,96,97,98,99,100
102,103,104,105,106,107,108,109,110,111,...122