99
ตุ
ลาคม-ธั
นวาคม ๒๕๕๗
ส่
วน “ต�
ำรั
บท้
าวศรี
จุ
ฬาลั
กษณ์
” หรื
อ “ต�
ำนาน
นางนพมาศ” ที่
ระบุ
ว่
าเป็
นพระสนมเอกของพระร่
วงเจ้
า
แห่
งกรุ
งสุ
โขทั
ย และเป็
นผู
้
คิ
ดประดิ
ษฐ์
กระทงรู
ปดอกบั
ว
กมุ
ท - บั
วที่
บานยามราตรี
เพี
ยงปี
ละครั้
งในคื
นเพ็
ญเดื
อน ๑๒
อั
นเป็
นต้
นแบบของกระทงที่
ใช้
ลอยกั
นมาจนถึ
งวั
นนี้
รวมทั้
ง
เป็
นที่
มาของการประกวดนางนพมาศนั้
น มี
นั
กประวั
ติ
ศาสตร์
หลายส�
ำนั
กวิ
เคราะห์
ตรงกั
นว่
า “ต�
ำรั
บท้
าวศรี
จุ
ฬาลั
กษณ์
”
ไม่
น่
าจะเป็
นเอกสารสมั
ยสุ
โขทั
ย แต่
น่
าจะแต่
งขึ้
นใหม่
ใน
แผ่
นดิ
นรั
ชกาลที่
๓ แห่
งกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
เพื่
อเป็
นวรรณคดี
กึ่
งคู่
มื
อปฏิ
บั
ติ
ตนของนางในราชส�
ำนั
ก โดยอ้
างพระวิ
นิ
จฉั
ย
ของสมเด็
จฯ กรมพระยาด�
ำรงราชานุ
ภาพ ที่
ว่
าหนั
งสื
อเล่
มนี้
มี
การกล่
าวถึ
งปื
นใหญ่
และชาติ
ฝรั่
งอเมริ
กา ซึ่
งยั
งไม่
มี
ใน
สมั
ยสุ
โขทั
ย
จึ
งกล่
าวได้
ว่
าประเพณี
ลอยกระทง เผาเที
ยน เล่
นไฟ
ในประเทศไทย กั
บเทศกาลน�้
ำของกั
มพู
ชา มี
ต้
นรากทาง
วั
ฒนธรรมเดี
ยวกั
น คื
อรั
บอิ
ทธิ
พลศาสนาพราหมณ์
ฮิ
นดู
และ
ศาสนาพุ
ทธฝ่
ายเถรวาท
ส่
วนในประเทศลาว ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บประเพณี
ไหลเฮื
อไฟ หรื
อลอยเรื
อไฟ เพื
่
อบู
ชารอยพระพุ
ทธบาท
ที่
ประทั
บไว้
ณ ริ
มฝั่
งแม่
น�้
ำนั
มทานที
เมื่
อครั้
งเสด็
จไปแสดง
ธรรมเทศนาโปรดพญานาคตามที่
ปรากฏใน “อรรถกถา
ปุ
ณโณวาทสู
ตร” รวมถึ
งธรรมเนี
ยมการลอยประที
ป
บู
ชาเทพเจ้
าและสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ที่
เลื่
อนไหลถ่
ายเทมาจาก
สั
งคมอิ
นเดี
ย จึ
งเกิ
ดประเพณี
ไหลเฮื
อไฟขึ้
น พร้
อมๆ กั
บ
การท�
ำกระทงจากวั
สดุ
ง่
ายๆ มาลอยเพื่
อเป็
นสิ
ริ
มงคลกั
น
ในวั
นออกพรรษาวั
นขึ้
น๑๕ค�่
ำ เดื
อน๑๑นั้
นเลยจึ
งกล่
าวได้
ว่
า
ลาวไม่
มี
วั
นลอยกระทง ๑๕ ค�่
ำ เดื
อน ๑๒ แต่
อย่
างใด
ในขณะที่
วั
ฒนธรรมของชาวเวี
ยดนาม จะไม่
มี
วั
นลอยกระทงแบบเจาะจงวั
นใดวั
นหนึ่
ง แต่
จะลอยใน
วั
นส�
ำคั
ญทางพุ
ทธศาสนา อาทิ
วั
นมาฆบู
ชา วิ
สาขบู
ชา
โดยมี
ต้
นรากจากศาสนาพุ
ทธฝ่
ายมหายาน และจากลั
ทธิ
บู
ชาบรรพบุ
รุ
ษของขงจื๊
อ ดั
งนั้
น นอกจากลอยกระทงถวาย
เป็
นพุ
ทธบู
ชาในวั
นส�
ำคั
ญทางศาสนาแล้
ว ชาวเวี
ยดนาม
จะนิ
ยมลอยกระทงที่
เป็
นกระดาษสี
ทุ
กครั้
งที่
จั
ดกิ
จกรรม
ร�
ำลึ
กถึ
งบุ
ญคุ
ณของบรรพบุ
รุ
ษ
ธรรมเนี
ยมของชาวเวี
ยดนามจึ
งสามารถลอย
กระทงได้
ทุ
กวั
น จนกลายเป็
นจุ
ดขายทางการท่
องเที่
ยว
เพราะกระทงกระดาษหลากสี
สั
น ยามเมื่
อต้
องแสงเที
ยน
ระยิ
บระยั
บล่
องลอยไปในสายน�้
ำ สร้
างความประทั
บใจ
ให้
อาคั
นตุ
กะผู้
ไปเยื
อนยิ่
งนั
ก
แต่
ไม่
ว่
าประเพณี
ลอยกระทงของชาวอุ
ษาคเนย์
– อาเซี
ยน จะมี
รู
ปแบบหรื
อสี
สั
นแตกต่
างกั
นเพี
ยงใด และมี
ต้
นรากจากศาสนาหรื
อลั
ทธิ
นิ
กายที่
แตกต่
างกั
นแค่
ไหน ทว่
า
ในส่
วนลึ
กของประเพณี
นี้
ล้
วนสอนให้
เราส�
ำนึ
กถึ
งบุ
ญคุ
ณ
ของธรรมชาติ
และบรรพบุ
รุ
ษ รู
้
จั
กการขออภั
ย และปรั
บปรุ
ง
แก้
ไข หากท�
ำสิ่
งที่
ไม่
ถู
กต้
องดี
งาม เพื่
อสั
งคมที่
ร่
มเย็
นเป็
นสุ
ข
นั่
นเอง