วารสารวัฒนธรรม มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๗ - page 84

84
จากภู
มิ
ปั
ญญาสู
อั
ตลั
กษณ์
และศั
กยภาพ
ย้
อนกลั
บไปในอดี
ต วั
ฒนธรรมการเล่
นหนั
งหรื
ละครเงาปรากฏอยู
ในอารยธรรมเก่
าแก่
ของโลกมาแต่
โบราณ
เช่
น อี
ยิ
ปต์
จี
น อิ
นเดี
ย เป็
นต้
น และอาจจะเรี
ยกได้
ว่
าแทบ
ทุ
กประเทศในเอเซี
ยตะวั
นออกเฉี
ยงใต้
ต่
างก็
มี
การละเล่
ชนิ
ดนี้
อยู่
โดยรู
ปแบบหนั
งที่
เล่
นกั
นจะมี
๒ แบบ คื
อ ชนิ
ดที่
ส่
วนแขนติ
ดกั
บล�
ำตั
ว มี
ขนาดใหญ่
เช่
น หนั
งใหญ่
ของไทย
และหนั
งแสบก (Nang Sbek) ของเขมร และชนิ
ดที่
ส่
วนแขน
แยกส่
วนจากล�
ำตั
วแต่
ร้
อยหมุ
ดให้
ติ
ดกั
น ซึ่
งจะสามารถ
เคลื่
อนไหวได้
เช่
น หนั
งอยอง (Nang Ayoung) ของเขมร
วายั
งกุ
ลิ
ต (Wayang Kulit) ของมาเลเซี
ย วายั
งยาวอ
(Wayang Jawa) ของชวา และหนั
งตะลุ
งของไทย
ก่
อนที่
เราจะได้
เห็
นตั
วหนั
งโลดแล่
นเล่
นเงาอยู
หลั
งฉากเพื่
อให้
ความเพลิ
ดเพลิ
นอยู
นั้
น จะต้
องมี
หลาย
องค์
ประกอบที่
มาเกี่
ยวข้
องกั
น ไม่
ว่
าจะเป็
นนายหนั
งหรื
คนเชิ
ดหนั
ง นั
กดนตรี
และช่
างแกะหนั
ง โดยเฉพาะอย่
างยิ่
ช่
างแกะหนั
งที่
นั
บวั
นจะลดน้
อยถอยลง และหาผู
ที่
มี
ความช�
ำนาญในการแกะหนั
งได้
ยาก นั่
นท�
ำให้
“ครู
สมพงษ์
ชู
จิ
ต”
ช่
างแกะหนั
งกั
งวลในเรื่
องนี้
อยู
ไม่
น้
อย เพราะนั่
นไม่
ใช่
แค่
อาชี
พที่
เขาท�
ำมาหาเลี้
ยงครอบครั
ว แต่
ด้
วยหั
วใจนั
กอนุ
รั
กษ์
งานศิ
ลปะการแกะหนั
งที่
มี
อยู่
ในตั
วเขานั่
นเอง
ครู
สมพงษ์
ชู
จิ
ต เป็
นคนจั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง ภู
มิ
ล�
ำเนา
อยู่
ต�
ำบลท่
ามะเดื
อ อ�
ำเภอบางแก้
ว จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง ปั
จจุ
บั
อายุ
๕๗ ปี
ด้
วยความชอบเขี
ยนรู
ปหนั
งตะลุ
งมาตั้
งแต่
เด็
กๆ
สมั
ยอยู่
โรงเรี
ยนก็
ชอบขอกระดาษสมุ
ดเพื่
อนๆ เพื่
อวาดรู
หนั
งตะลุ
งอยู
บ่
อยๆ เขาเรี
ยนรู
การแกะหนั
งด้
วยตั
วเองมา
ตั้
งแต่
เด็
ก กระทั่
งยึ
ดเป็
นอาชี
พหลั
กมาจวบจนปั
จจุ
บั
จากประสบการณ์
ในการฝึ
กหั
ดแกะหนั
งมาตั้
งแต่
ปี
พ.ศ. ๒๕๑๕ ของครู
สมพงษ์
ท�
ำให้
เขาเชี่
ยวชาญศาสตร์
ทางด้
านนี้
อย่
างหาตั
วจั
บยาก เริ่
มต้
นการฝึ
กฝนแรกๆ นั้
นเป็
นไป
ด้
วยความยากล�
ำบาก จากการดู
แบบที่
ช่
างแกะหนั
งคนอื่
นๆ
ท�
ำไว้
และดู
แบบจากผนั
งโบสถ์
ตามวั
ดวาอารามต่
างๆรวมถึ
งการ
ไปขอเรี
ยนรู้
จากช่
างแกะหนั
งตะลุ
งด้
วยตั
วเอง แต่
ก็
ไม่
มี
ใคร
ที่
จะสามารถถ่
ายทอดเคล็
ดลั
บให้
จนหมดเปลื
อก จนกระทั่
ครู
สมพงษ์
ได้
พบกั
บ “อาจารย์
เขี
ยว สุ
วรรณ” ที่
รั
บเขา
เข้
าเป็
นศิ
ษย์
ซึ่
งถื
อเป็
นอาจารย์
ที่
ถ่
ายทอดศาสตร์
และ
ศิ
ลป์
ด้
านการแกะหนั
งให้
กั
บเขาอย่
างละเอี
ยดทุ
กขั้
นตอน
ตั้
งแต่
การขึ้
นลายแกะหนั
ง ไปจนถึ
งสามารถแกะลายวาดเส้
นได้
จากนั้
นครู
ก็
มี
ผลงานการแกะหนั
งออกมามากมายจนเป็
นที่
ยอมรั
บจากช่
างส่
วนใหญ่
ตั้
งแต่
นั้
นครู
สมพงษ์
ก็
แกะหนั
งตามรู
ปแบบของ
ตนเองเรื่
อยมา ซึ่
งเอกลั
กษณ์
การแกะหนั
งของครู
จะบ่
งบอก
ถึ
งภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นที่
สื
บทอดกั
นมาอย่
างยาวนาน แสดงถึ
ถิ่
นก�
ำเนิ
ดในจั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง มี
ความเชื่
อมโยงกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ของคนในท้
องถิ่
นภาคใต้
และมี
ความวิ
จิ
ตรงดงามประณี
I...,74,75,76,77,78,79,80,81,82,83 85,86,87,88,89,90,91,92,93,94,...IV
Powered by FlippingBook