วารสารวัฒนธรรม เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๗ - page 81
81
เมษายน-มิ
ถุ
นายน ๒๕๕๗
เมื่
อเอ่
ยถึ
งเครื่
องดนตรี
ที่
บอกกล่
าว
เล่
าถึ
งวิ
ถี
ชี
วิ
ต ภู
มิ
ปั
ญญา และความคิ
ดของ
ชาวอี
สาน ในจั
งหวะที่
เต็
มไปด้
วยความ
สนุ
กสนาน อั
นดั
บต้
นๆ ต้
องยกให้
“แคน”
ด้
วยท่
วงท�
ำนองที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
ประกอบ
กั
บภู
มิ
ป ั
ญญาพื้
นถิ่
นในการประดิ
ษฐ ์
เครื่
องดนตรี
จากวั
สดุ
ธรรมชาติ
ใกล้
ตั
ว
ส่
งผลให้
แคนได้
รั
บความนิ
ยมในหมู
่
ศิ
ลปิ
น
พื้
นบ้
านอี
สาน นอกจากความไพเราะของ
เสี
ยงแคนจะถู
กบรรเลงจาก
“หมอแคน”
หรื
อนั
กดนตรี
ผู
้
เป่
าแคนแล้
ว
“ช่
างท�
ำแคน”
ก็
ถื
อเป็
นอี
กหนึ่
งบทบาทของผู
้
สื
บสาน
ศิ
ลปะแขนงนี้
ให้
คงอยู
่
ซึ่
งในปั
จจุ
บั
น
ก็
ลดน ้
อยถอยลงทุ
กขณะและนั
บวั
น
ยิ่
งหาช่
างท�
ำแคนที่
ฝี
มื
อดี
ได้
ยาก นั่
นท�
ำให้
“สุ
ดกั
ณหารั
ตน์
”
หรื
อ
“ครู
สุ
ด”
หรื
อ
“ช่
างสุ
ด”
มุ
่
งมั่
นที่
จะรั
กษาภู
มิ
ปั
ญญาในการท�
ำแคน
ให้
คงอยู
่
สื
บไปคู
่
กั
บวั
ฒนธรรมอี
สาน
ครู
ช่
างท�
ำแคนแดนอี
สาน
I...,71,72,73,74,75,76,77,78,79,80
82,83,84,85,86,87,88,89,90,91,...122