วารสารวัฒนธรรม เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๗ - page 28

28
ตะเกา
จิ
นตนาการจากพรรณพฤกษา
ตะเกา
หรื
ตะเกอว
หรื
กะจอน
คื
อชื
อเรี
ยก ต่
างหู
มี
รู
ปแบบของลวดลายคล้
ายดั
งดอกไม้
เถาไม้
ในป่
า ลวดลายดั้
งเดิ
ที่
พอสื
บค้
นได้
ได้
แก่
ลายดอกรั
งหอกเปิ
ด ลายดอกรั
งหอกปิ
ลายดอกขจร ลายรั
งผึ้
ง ดอกปลึ
ก ๓ ชั้
น เป็
นต้
น ลั
กษณะพิ
เศษของตะเกา
คื
อจะมี
ก้
านต่
างหู
ยาวโค้
งงอไปด้
านหลั
งส�
ำหรั
บเกาะรู
หู
ปั
จจุ
บั
นมี
ลวดลายของตะเกาหลากหลายลวดลาย ซึ่
งช่
างแต่
ละรุ
นมี
การคิ
ต่
อยอดสร้
างสรรค์
ลวดลายให้
สอดคล้
องตามสมั
ยนิ
ยม
ผู
เฒ่
าชาวสุ
ริ
นทร์
เล่
าว่
า แต่
เดิ
มนั้
น ตะเกา ใช้
เป็
นต่
างหู
และ
มี
การร้
อยเป็
นสร้
อยสั
งวาลบ้
าง ภายหลั
งมี
การประยุ
กต์
มาเป็
นเข็
มขั
ข้
อมื
อ หั
วแหวน ฯลฯ ตามแต่
ชอบ
การท�
ำตะเกาถื
อว่
าเป็
นงานที่
ละเอี
ยดอ่
อน เป็
นชิ้
นงานที่
ไม่
สามารถท�
ำเบ้
าหลอมเพื่
อผลิ
ตจ�
ำนวนมากได้
จึ
งกลายเป็
ความโดดเด่
นและเป็
นที่
ต้
องการของผู
คนจ�
ำนวนมาก แต่
ในปั
จจุ
บั
หาช่
างฝี
มื
อที่
สื
บทอดการท�
ำได้
น้
อย เนื่
องจากต้
องใช้
เวลานานในการท�
ช่
อดอกแต่
ละช่
อ นอกจากนี้
การท�
ำชิ้
นงานแต่
ละชิ้
นต้
องมี
ความพิ
ถี
พิ
ถั
ในการเลื
อกซื้
อเม็
ดเงิ
น การหลอมเม็
ดเงิ
น การรี
ดเงิ
นเป็
นเส้
น ดึ
งเส้
นเงิ
การผสานเนื้
อเงิ
น อย่
างประณี
ตและเหมาะสมเพื่
อไม่
ให้
เสี
ยคุ
ณภาพ
ของเงิ
น ก่
อนที่
จะลงมื
อท�
ำช่
อดอกตะเกาแต่
ละลวดลาย
I...,18,19,20,21,22,23,24,25,26,27 29,30,31,32,33,34,35,36,37,38,...122
Powered by FlippingBook