30
วั
ฒนธ รม
ค�
ำว่
า “กริ
ช” ในภาษาไทย น่
าจะถอดมาจาก “keris” หรื
อ
มี
ดสั้
น ในภาษามลายู
ที่
อาจผ่
านมาจากภาษาชวาโบราณ
อี
กทอด เพราะจากข้
อมู
ลหลั
กฐานท�
ำให้
รั
บรู
้
ว่
ากริ
ชเริ่
มมี
ใช้
กั
นบนเกาะชวา แล้
วแพร่
หลายไปยั
งหมู
่
เกาะรายรอบ
ปั
จจุ
บั
นคื
อประเทศอิ
นโดนี
เซี
ย มาเลเซี
ย สิ
งคโปร์
และบรู
ไน
ก่
อนจะผ่
านมาตามเส้
นทางการค้
าทางทะเล ไม่
ว่
าฟิ
ลิ
ปปิ
นส์
ตอนใต้
ภาคใต้
ของไทย กั
มพู
ชา รวมถึ
งเวี
ยดนาม
สั
นนิ
ษฐานกั
นว่
า “กริ
ชมั
ชปาหิ
ต” น่
าจะเป็
นต้
นเค้
าของ
กริ
ชทั้
งหลาย ด้
วยลั
กษณะของใบกริ
ชและหั
วกริ
ชท�
ำจาก
โลหะเชื่
อมต่
อเป็
นชิ้
นเดี
ยว รวมทั้
งลวดลายศิ
ลปะแบบดั้
งเดิ
ม
แหล่
งที่
มาคื
ออาณาจั
กรโบราณ “มั
ชปาหิ
ต” ในชวาตะวั
นออก
ซึ่
งเจริ
ญรุ
่
งเรื
องในสมั
ยพุ
ทธศตวรรษที่
๑๙-๒๑ ภายใต้
ลั
ทธิ
ศาสนาฮิ
นดู
โดยมี
ผู
้
แสดงความเห็
นไว้
ว่
า กริ
ชเป็
นอาวุ
ธที่
ใช้
ในการประกอบพิ
ธี
กรรมตามลั
ทธิ
ฮิ
นดู
มาก่
อน
หลั
งพุ
ทธศตวรรษที่
๒๑ หรื
อราว ๔๐๐ กว่
าปี
ที่
แล้
ว
เป็
นต้
นมา กริ
ชได้
รั
บความนิ
ยมกว้
างขวาง ท�
ำให้
รู
ปแบบ
พั
ฒนาไปตามกระแสความนิ
ยมของแต่
ละถิ่
นแต่
ละเมื
อง
จนมี
ลั
กษณะเด่
นเฉพาะตั
ว เช่
นแบบชวา แบบสุ
มาตรา
แบบบู
กิ
ส เป็
นต้
น ช่
วงเวลาดั
งกล่
าว ชาวชวาที่
เดิ
นทาง
ผ่
านสุ
มาตรามายั
งเมื
องปั
ตตานี
ได้
น�
ำกริ
ช ภู
มิ
ความรู
้
และ
ความเชื่
อเรื่
องนี้
เข้
ามาด้
วย กริ
ชจึ
งแพร่
หลายอยู
่
ในพื้
นที่
ภาคใต้
ตอนล่
างของสยาม โดยเฉพาะตั้
งแต่
สงขลาลงไป
ต่
อมาจึ
งเริ่
มมี
ช่
างตี
กริ
ช ท�
ำหั
วกริ
ชและฝั
กกริ
ชขึ้
นใน
พื้
นที่
และถ่
ายทอดวิ
ชาสื
บต่
อกั
นมา จนสามารถพั
ฒนากริ
ช
รู
ปแบบของตนเองขึ้
น เรี
ยกว่
า “สกุ
ลช่
างปั
ตตานี
” ผลงาน
อั
นโดดเด่
นของสกุ
ลช่
างปั
ตตานี
อาจกล่
าวชั
ดเจนเป็
นสามส่
วน
ดั
งนี้
ตากริ
ช
หรื
อใบกริ
ชแบบปั
ตตานี
มี
ทั้
งตาตรง และแบบ
ตาคด ซึ่
งอาจมี
ตั้
งแต่
๕ - ๑๑ คด มี
ลั
กษณะโคนใหญ่
เรี
ยวแหลมลงทางปลาย ใกล้
โคนข้
างหนึ่
งมี
เงี่
ยงยื่
นออกมา
คล้
ายงวงช้
าง เรี
ยกว่
า หู
(หรื
องวง) อี
กด้
านท�
ำเป็
นรอยหยั
ก
คล้
ายฟั
นปลา เรี
ยกว่
า เครา ใบกริ
ชสกุ
ลนี้
ค่
อนข้
างเด่
นใน
เรื่
องความยาว มี
สั
นตรงกลางเป็
นแนวยาวตลอดเล่
มทั้
งสอง
ด้
าน อี
กทั้
งหู
และเคราก็
ออกแบบประณี
ตงดงามผิ
ดกั
บสกุ
ล
ช่
างอื่
น ๆ
เนื้
อเหล็
กของกริ
ชปั
ตตานี
มี
ทั้
งชนิ
ดที่
มี
ลวดลายในเนื้
อ
และไม่
มี
ลาย (หรื
อจั
บเค้
าลายไม่
ได้
) การเกิ
ดลายบนเนื้
อเหล็
ก
นั้
นทางโลหวิ
ทยาถื
อว่
าเนื้
อเหล็
กไม่
บริ
สุ
ทธิ์
แต่
นั
กเลงกริ
ช
ถื
อว่
าดี
เพราะเป็
นข้
อพิ
สู
จน์
ว่
ามี
เหล็
กผสมผสานหลายชนิ
ด
กริ
ชที่
ขลั
งย่
อมเกิ
ดจากการน�
ำเหล็
ก โลหะมงคลต่
าง ๆ
มาหลอมรวมกั
น เมื่
อนานวั
นเข้
า โลหะเกิ
ดการกั
ดกร่
อน
ไม่
เท่
ากั
น ท�
ำให้
เกิ
ดร่
องขึ้
นลายสวยงามแปลกตา
หั
วกริ
ช
หรื
อด้
ามจั
บ จั
ดว่
าเป็
นส่
วนเด่
นที่
สุ
ดของกริ
ช
เพราะเป็
นส่
วนที่
อยู
่
บนสุ
ด ช่
างจึ
งฝากฝี
มื
อแกะสลั
กขั
ดเงา
อย่
างประณี
ต หั
วกริ
ชสกุ
ลช่
างปั
ตตานี
เรี
ยกกั
นว่
ารู
ป
“นกพั
งกะ” นิ
ยมกั
นตั้
งแต่
จั
งหวั
ดสงขลาตอนใต้
ลงไปจนถึ
ง
รั
ฐกลั
นตั
นของมาเลเซี
ย ทางชวาเรี
ยกหั
วกริ
ชนี้
ว่
า “วายั
ง”
หรื
อตั
วยั
กษ์
ในหนั
งตะลุ
งของชวาที่
เคยเข้
ามามี
อิ
ทธิ
พลใน
ศิ
ลปกรรมท้
องถิ่
นของเมื
องปั
ตตานี
ในอดี
ต โดยภาพรวม
ราว ๔๐๐ กว่
าปี
ที่
แล้
ว
กริ
ชได้
รั
บความนิ
ยม
อย่
างกว้
างขวาง
ท�
ำให้
รู
ปแบบพั
ฒนาไป
ตามกระแสความนิ
ยมของ
แต่
ละถิ่
นแต่
ละเมื
อง
จนมี
ลั
กษณะเด่
นเฉพาะตั
ว
เช่
นแบบชวา แบบสุ
มาตรา
แบบบู
กิ
ส เป็
นต้
น
1...,22,23,24,25,26,27,28,29,30,31
33,34,35,36,37,38,39,40,41,42,...124