กรกฎาคม-กั
นยายน
๒๕๕๕
25
ได้
มี
การพยายามศึ
กษาก�
ำเนิ
ด ยุ
คสมั
ย และที่
มาของ
โนรากั
นมาอย่
างละเอี
ยด และได้
ข้
อสรุ
ปว่
า โนราหรื
อที่
แต่
เดิ
มเรี
ยกว่
า “ชาตรี
” นั้
น เป็
นการแสดงของทางภาคใต้
ที่
มี
มา
ไม่
น้
อยกว่
า ๔๐๐ ปี
 นั
กวิ
ชาการหลายท่
านสั
นนิ
ษฐานว่
อาจจะมี
มาตั้
งแต่
สมั
ยศรี
วิ
ชั
ย หรื
อไม่
ก็
ราวพุ
ทธศตวรรษ 
ที่
 ๑๙ เป็
นอย่
างน้
อย ศ. ดร. ผาสุ
ข อิ
นทราวุ
ธ อดี
ตคณบดี
คณะโบราณคดี
 มหาวิ
ทยาลั
ยศิ
ลปากร ตั้
งข้
อสั
งเกตว่
า โนรา
คงเป็
นอารยธรรมของอิ
นเดี
ยใต้
ที่
แพร่
เข้
ามาในภาคใต้
ของ
ประเทศไทย “ราวพุ
ทธศตวรรษที่
 ๑๓–๑๖ ซึ่
งเป็
นช่
วงที่
อาณาจั
กรศรี
วิ
ชั
ยเจริ
ญรุ่
งเรื
อง” 
และงานวิ
จั
ยของสถาบั
นทั
กษิ
ณคดี
ศึ
กษา ระบุ
เพิ่
มเติ
ว่
า โนราคงจะเจริ
ญรุ
งเรื
องขึ้
นในดิ
นแดนรอบลุ
มทะเลสาบ
สงขลา ตั้
งแต่
สมั
ยอยุ
ธยาเป็
นอย่
างน้
อย  สอดคล้
องกั
บที่
อาจารย์
ธรรมนิ
ตย์
 นิ
คมรั
ตน์
 แห่
งสถาบั
นราชภั
ฏสงขลา 
ปั
จจุ
บั
นนี้
คนชมโนรา
จะเห็
นว่
าในคณะโนรา
จะมี
ตั
วละครเด่
นอยู่
สองฝ่
าย 
คื
อ ครู
โนราที่
ร�
ำตามพิ
ธี
แบบแผน และครู
พรานที่
ร�
ำสนุ
ก 
พร้
อมปล่
อยมุ
กตลกทะลึ่
งตึ
งตั
งให้
หั
วเราะ
ครื้
นเครง ซึ่
งการหั
ดให้
เป็
นโนรานั้
น 
ไม่
ได้
ท�
ำกั
นง่
าย ๆ แต่
ต้
องอาศั
ยใจรั
กและ
การฝึ
กฝนอย่
างหนั
กตั้
งแต่
วั
ยเด็
 “เทริ
ด” (อ่
านว่
า เซิ
ด) 
เครื่
องประดั
บศี
รษะของโนรา 
ถื
อเป็
นเครื่
องแต่
งกายส�
ำคั
ที่
ศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
และโดดเด่
น 
จนอาจถื
อเป็
นสั
ญลั
กษณ์
ของโนราได้
ที
เดี
ยว
<
ในคณะโนรานั้
น 
พวกที่
ร�
ำพราน
คื
อรสชาติ
อั
นถึ
งใจ
และสนุ
กครื้
นเครง 
โดยเฉพาะเวลาขึ้
นเวที
อย่
างทะลึ่
งตึ
งตั
<
1...,17,18,19,20,21,22,23,24,25,26 28,29,30,31,32,33,34,35,36,37,...124