26
วั
ฒนธ รม
ศิ
ษย์
เอกของโนราพุ
่
มเทวา เคยอธิ
บายให้
ฟั
งว่
า รอบ
ทะเลสาบสงขลาทั้
งฝั
่
งตะวั
นตกคื
อพั
ทลุ
ง และฝั
่
งตะวั
นออก
คื
อสงขลา สามารถสื
บสาวถึ
งพวกโนราได้
ตลอด โนราที่
มี
ชื่
อเสี
ยงล้
วนกระจุ
กตั
วอยู
่
ตั้
งแต่
ปากพะยู
น เขาไชยสน
ล�
ำป�
ำ ทะเลน้
อย ระโนด กระแสสิ
นธุ
์
สทิ
งพระ สิ
งหนคร
หาดใหญ่
สงขลา ควนเนี
ยง เข้
มข้
นอยู
่
รอบทะเลสาบทั้
งสิ้
น
จากนั้
นจะค่
อย ๆ จางลง
หลั
กฐานเก่
าแก่
ที่
สุ
ดเกี่
ยวกั
บโนรา คื
อภาพจิ
ตรกรรม
ฝาผนั
งวั
ดเกาะแก้
วสุ
ทธาราม จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
เหนื
อกรอบ
ประตู
ด้
านหน้
าข้
างซ้
ายของพระประธาน ที่
เขี
ยนภาพงาน
พระเมรุ
พระพุ
ทธเจ้
านั้
น ยั
งประกอบไปด้
วยภาพมหรสพ
หลายชนิ
ด ดั
งเช่
นโขน ญวนหก ต่
อยมวย ไต่
ลวด และโนรา
หญิ
งชายสองคนก�
ำลั
งซั
ดท่
ายกแขนได้
ฉากอย่
างงามสง่
าอยู
่
ระหว่
างระทา
*
ร้
านดอกไม้
ไฟที่
ใช้
จุ
ดในงานพิ
ธี
โนราทั้
งสอง
สวมเทริ
ด สวมหาง ใส่
เล็
บงอน มี
ก�
ำไลรั
ดข้
อมื
อ รั
ดต้
นแขน
ฝ่
ายหญิ
งนั้
นเปลื
อยอก แต่
โดยรวม ๆ แล้
ว เครื่
องแต่
งกาย
ดู
คล้
ายคลึ
งกั
นมากกั
บโนรายุ
คปั
จจุ
บั
น
ที่
ส�
ำคั
ญก็
คื
อจิ
ตรกรรมชุ
ดนี้
มี
จารึ
กอยู
่
ที่
ผนั
งด้
านหนึ่
ง
ระบุ
ว่
าเขี
ยนมาตั้
งแต่
ปี
พ.ศ. ๒๒๗๗ หรื
อ จ.ศ. ๑๐๙๖ ใน
สมั
ยพระเจ้
าอยู่
หั
วบรมโกศ ครั้
งกรุ
งศรี
อยุ
ธยาเป็
นราชธานี
นี่
คื
อภาพเขี
ยนโนราเก่
าแก่
ที่
สุ
ดที่
พบในปั
จจุ
บั
น และ
สามารถใช้
เป็
นหลั
กฐานชี้
ชั
ดว่
าอย่
างน้
อยในสมั
ยอยุ
ธยา
ตอนปลาย มหรสพโนราเคยแพร่
หลายมาแล้
ว และมิ
ได้
จ�
ำกั
ดวงอยู
่
แต่
เฉพาะในภาคใต้
ด้
วย หากแพร่
หลายไกลขึ้
น
มาอย่
างน้
อยก็
ถึ
งเมื
องเพชรบุ
รี
ในปั
จจุ
บั
นนี้
คนชมโนราจะได้
เห็
นกั
นว่
าในคณะโนรานั้
น
จะมี
ตั
วละครเด่
นอยู
่
สองฝ่
ายคื
อ ครู
โนราที่
ร�
ำตามพิ
ธี
แบบแผน
และครู
พรานที่
ร�
ำสนุ
ก พร้
อมปล่
อยมุ
กตลกทะลึ่
งตึ
งตั
งให้
หั
วเราะครื้
นเครง ซึ่
งการหั
ดให้
เป็
นโนรานั้
น ไม่
ได้
ท�
ำกั
นง่
าย ๆ
แต่
ต้
องอาศั
ยใจรั
กและการฝึ
กฝนอย่
างหนั
กตั้
งแต่
วั
ยเด็
ก
ครู
คล้
อย วิ
เชี
ยร ครู
โนราจั
งหวั
ดตรั
ง เล่
าให้
ฟั
งว่
า ตั้
งแต่
ครู
อายุ
๗ ขวบก็
เริ่
มขั
บกลอนเป็
นบทดอกสร้
อยแล้
วเพราะ
มี
เชื้
อสายปู
่
ย่
าเป็
นโนรามา หลั
งจากนั้
นพออายุ
๘ ขวบ ครู
ก็
เริ่
มหั
ดโนรา ครู
จ�
ำได้
ว่
าต้
องเอามื
อใส่
ครกทิ่
มข้
าว (ครกต�
ำข้
าว)
แล้
วเอาสากกดไว้
ให้
มื
ออ่
อน เจ็
บร้
องไห้
อยู
่
หลายวั
น กว่
า
มื
อนิ้
วจะเปลี่
ยนสภาพเป็
นอ่
อนเช้
งตวั
ดมื
อให้
ร�
ำโนราได้
คล่
อง
ครั้
นเริ่
มเป็
นหนุ
่
ม มี
พุ
งพลุ
้
ย หน่
วยก้
านปฏิ
ภาณดี
แล้
ว ครู
จึ
งขยั
บมาร�
ำพราน
ฝ่
ายอาจารย์
สงวน บั
วเพชร คนรั
ตภู
มิ
เมื
องสงขลา วั
ย
๓๒ ปี
ซึ่
งร�
ำพรานได้
สนุ
กมาก ๆ ก็
เล่
าให้
ฟั
งว่
า ออกพราน
ยากกว่
าร�
ำโนรา เพราะโนราคนร�
ำไม่
เป็
นยั
งหั
ดได้
แต่
ออก
พรานยากตรงลู
กเล่
น มุ
กตลกเข้
ามาพู
ดแทรกให้
ข�
ำ จึ
งไม่
ค่
อยมี
ใครสมั
ครใจร�
ำพรานเท่
าใดนั
ก อี
กอย่
างหนึ่
งคื
อ
คนร�
ำพรานต้
องหุ
่
นให้
ด้
วย ยิ่
งอ้
วนพุ
งพลุ
้
ยเท่
าไหร่
ยิ่
งดี
คนผอมเป็
นพรานไม่
ได้
หากหุ
่
นไม่
ให้
ท่
าไม่
ไป มายื
นทื่
อมะลื่
อ
อยู
่
กลางโรง ต่
อให้
ใจรั
กอย่
างไร ก็
ไม่
อาจออกพรานกั
บเขาได้
ในคณะโนรานั้
น พวกที่
ร�
ำพรานคื
อรสชาติ
อั
นถึ
งใจและ
สนุ
กครื้
นเครง โดยเฉพาะเวลาขึ้
นเวที
อย่
างทะลึ่
งตึ
งตั
ง เผชิ
ญ
หน้
ากั
บฝ่
ายร�
ำโนราอั
นศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
และมี
แบบแผน เป็
นการ
ปะทะสั
งสรรค์
ของพลั
งสองขั้
วที่
เข้
มข้
นไม่
แพ้
กั
น
วั
ฒนธรรมการร�
ำโนราในทุ
กวั
นนี้
มี
การปรั
บเปลี่
ยนเครื่
อง
แต่
งกายให้
ฟู่
ฟ่
าทั
นสมั
ยขึ้
นมาก ใช้
การปั
กเลื่
อมวิ
บวั
บระยิ
บ
ระยั
บไปทั้
งตั
ว ดนตรี
ประกอบกลายเป็
นวงสตริ
งรุ
่
นใหม่
มี
กลองชุ
ด กี
ตาร์
อิ
เล็
กโทน เครื่
องดนตรี
ไฟฟ้
าให้
จั
งหวะเสี
ยง
ดั
งสนั่
น ไม่
ใช่
เครื่
องดนตรี
ปี
่
โทน ฉิ่
ง กรั
บ ตะโพนเหมื
อนใน
วั
นวาน โนรารุ
่
นใหม่
ที่
เล่
นตามงานเทศกาลใหญ่
ๆ งานวั
ด
งานทางวั
ฒนธรรมของจั
งหวั
ดภาคใต้
มี
พั
ฒนาการให้
ทั
นโลก
สมั
ยใหม่
ที่
เปลี่
ยนแปลงไปอย่
างรวดเร็
วกั
นมากแล้
ว
จนถึ
งปั
จจุ
บั
นโนราก็
ยั
งเป็
นที่
นิ
ยมของชาวบ้
านภาคใต้
อยู
่
มาก เพราะโนรามิ
ใช่
เพี
ยงมหรสพแต่
เป็
นพิ
ธี
กรรม
ศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
หลายบ้
านยั
งต้
องจั
ดพิ
ธี
ร�
ำโนราให้
กั
บเชื้
อสาย
บรรพบุ
รุ
ษตายายโนราอย่
างละเว้
นไม่
ได้
ในหลายพื้
นที่
นั้
น
*
ระทา
หอสู
งรู
ปสี่
เหลี่
ยมหลั
งคายอดเกี้
ยว ประดั
บดอกไม้
ไฟ
1...,18,19,20,21,22,23,24,25,26,27
29,30,31,32,33,34,35,36,37,38,...124