นิตยสารวัฒนธรรม ฉบับ ๔ ปีพ.ศ.๒๕๕๗ - page 12
12
ส�
ำหรั
บข้
าวหอมมะลิ
กข๑๕ เป็
นพั
นธุ์
ข้
าวที่
ได้
มา
จากการปรั
บปรุ
งพั
นธุ์
โดยกลุ่
มงานพั
นธุ
ศาสตร์
กองการข้
าว
กรมวิ
ชาการเกษตร ด้
วยวิ
ธี
ชั
กน�
ำพั
นธุ
์
ข้
าวขาวดอกมะลิ
๑๐๕
ให้
กลายพั
นธุ
์
โดยการน�
ำเมล็
ดพั
นธุ
์
ไปอาบรั
งสี
แกมมา
ณ ส�
ำนั
กงานปรมาณู
เพื่
อสั
นติ
ในปี
พ.ศ. ๒๕๒๑ ซึ่
งเป็
น
นวั
ตกรรมแรกของประเทศไทยที่
ใช้
วิ
ธี
การปรั
บปรุ
งพั
นธุ
์
โดยการกลายพั
นธุ
์
จากนั้
นได้
น�
ำไปทดลองปลู
กในพื
้
นที่
อ�
ำเภอพิ
มาย จั
งหวั
ดนครราชสี
มา ซึ่
งเป็
นพื้
นที่
ที่
ต้
องอาศั
ย
น�้
ำฝนในการท�
ำนา ผลที่
เกิ
ดขึ้
นพบว่
าข้
าวหอมมะลิ
กข๑๕ มี
ความสามารถในการทนแล้
งได้
ดี
กว่
าข้
าวขาวดอกมะลิ
๑๐๕
อายุ
การเก็
บเกี่
ยวสั้
นกว่
า ๑๐ วั
น ให้
ผลผลิ
ตสู
งกว่
า และต้
น
เตี้
ยกว่
า แต่
ไม่
ทนโรคและล�
ำต้
นล้
มง่
าย
อย่
างไรก็
ตาม แม้
จะมี
ข้
อจ�
ำกั
ดบางประการ หาก
แต่
ข้
อดี
ของข้
าวหอมมะลิ
ในหลายด้
านก็
ดู
จะลบข้
อด้
อยที่
มี
อยู
่
ไปได้
มาก เนื่
องจากเป็
นข้
าวที่
สามารถปลู
กได้
เกื
อบ
ทุ
กภาคในประเทศไทย ไม่
ว่
าจะเป็
นภาคเหนื
อ ภาคกลาง
ภาคอี
สาน และเหมาะที่
จะปลู
กในพื้
นที่
นาปี
ดั
งนั้
นข้
าวหอม
มะลิ
จึ
งกลายเป็
นพื
ชเศรษฐกิ
จที่
ส�
ำคั
ญของประเทศ ชาวนา
ไทยท�
ำการปลู
กข้
าวหอมเพิ่
มจ�
ำนวนมากขึ้
นทุ
กปี
หลายคน
ได้
ปรั
บแผนการผลิ
ตในพื้
นที่
เพาะปลู
กของตนเอง โดยปลู
ก
ข้
าวเหนี
ยว ข้
าวเมล็
ดเล็
ก เพื่
อใช้
ในครั
วเรื
อนและในงานบุ
ญ
ประเพณี
นอกนั้
นท�
ำการปลู
กข้
าวหอมมะลิ
เพื่
อส่
งขายใน
ท้
องตลาดน�
ำรายได้
สู่
ครอบครั
ว
คุ
ณลุ
งสุ
พจน์
โอดลี
อดี
ตข้
าราชการครู
ท่
านหนึ่
ง
หลั
งจากเกษี
ยณอายุ
ราชการแล้
วได้
ผั
นตั
วเองมาเป็
น
ชาวนาเต็
มขั้
น พู
ดถึ
งเรื่
องราวของคนท�
ำนาได้
อย่
างน่
าฟั
งว่
า
การปลู
กข้
าวคื
อการปลู
กชี
วิ
ตจากชี
วิ
ตหนึ่
งเชื่
อมร้
อย
ถึ
งชี
วิ
ตหนึ่
ง ปลู
กข้
าวช่
วยกล่
อมเกลาจิ
ตใจให้
นิ่
งสงบและ
คิ
ดอย่
างมี
เหตุ
ผล ไม่
ใช่
เพี
ยงมี
เงิ
นลงทุ
น มี
ที่
ทางแล้
ว
จะท�
ำนาได้
ดี
I...,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11
13,14,15,16,17,18,19,20,21,22,...122