72
วั
ฒนธ รม
เขาเคยพู
ดถึ
งตั
วเองไว้
ว่
า “ข้
าพเจ้
าขอแนะน�
ำตั
วเอง
ในฐานะคนล้
มเหลวที่
พบความส�
ำเร็
จอั
นยิ่
งใหญ่
” ส่
วน
ประวั
ติ
ฉบั
บทางการระบุ
ว่
า นายสุ
ชาติ
สวั
สดิ์
ศรี
เกิ
ดที่
อ�
ำเภอท่
าเรื
อ จั
งหวั
ดพระนครศรี
อยุ
ธยา ในวั
นชาติ
๒๔
มิ
ถุ
นายน พ.ศ. ๒๔๘๘ ช่
วงปลายสงครามโลกครั้
งที่
๒
จบการศึ
กษาสาขาประวั
ติ
ศาสตร์
(เกี
ยรติ
นิ
ยมดี
) จากคณะ
ศิ
ลปศาสตร์
มหาวิ
ทยาลั
ยธรรมศาสตร์
เมื่
อปี
พ.ศ. ๒๕๐๙
๔๐ กว่
าปี
ต่
อจากนั้
น สุ
ชาติ
ใช้
ชี
วิ
ตอยู่
ในวงการหนั
งสื
อ
มาโดยตลอด
ยุ
คทศวรรษ ๒๕๑๐ เขาคื
อบรรณาธิ
การวารสาร
สั
งคมศาสตร์
ปริ
ทั
ศน์
สื่
อสิ่
งพิ
มพ์
ที่
มี
อิ
ทธิ
พลยิ่
งในกลุ
่
มหนุ
่
ม
สาวหั
วก้
าวหน้
า
ล่
วงถึ
งทศวรรษ ๒๕๒๐ เขาเป็
นบรรณาธิ
การของ
โลกหนั
งสื
อ
นิ
ตยสารรายเดื
อนว่
าด้
วยวงการวรรณกรรม และ
แดนเกิ
ดแห่
งนามปากกา “สิ
งห์
สนามหลวง” ในคอลั
มน์
ตอบ
จดหมายที่
มี
ผู
้
สนใจติ
ดตามอ่
านมากที่
สุ
ด ลี
ลาของ “สิ
งห์
ฯ”
เต็
มไปด้
วยการยั่
วล้
อแบบยี
ยวนกวนประสาทและตอบโต้
ผู
้
ที่
มา “ลองของ” อย่
างดุ
เดื
อด ทว่
าพร้
อมกั
นนั้
นก็
หนั
กแน่
น
ด้
วยข้
อมู
ลประวั
ติ
นั
กเขี
ยน และเข้
มข้
นด้
วยเรื่
องราวของ
หนั
งสื
อหนั
งหาทั้
งไทยและเทศ ที่
เขาเพี
ยรค้
นคว้
าหามา
บรรณาการแก่
ผู้
อ่
านอย่
างเต็
มก�
ำลั
ง
แม้
โลกหนั
งสื
อ
จะมี
อั
นต้
องปิ
ดตั
วไปในปี
พ.ศ. ๒๕๒๖
แต่
คอลั
มน์
ตอบจดหมายพร้
อมด้
วยนามปากกา “สิ
งห์
สนามหลวง” กลั
บยื
นยงต่
อมาอี
กเกื
อบ ๓๐ ปี
โยกย้
ายไปสู
่
นิ
ตยสารและหนั
งสื
อพิ
มพ์
อี
กหลายเล่
ม ทั้
ง
ถนนหนั
งสื
อ
Hi-Class สยามรั
ฐสั
ปดาห์
วิ
จารณ์
และ
ผู
้
จั
ดการ
ก่
อนจะมา
ปรากฏบนหน้
ากระดาษของ
เนชั
่
นสุ
ดสั
ปดาห์
อย่
างต่
อเนื่
อง
นั
บตั้
งแต่
พ.ศ. ๒๕๔๐
อี
กคุ
ณู
ปการส�
ำคั
ญของสุ
ชาติ
ที่
เป็
นที่
ยอมรั
บนั
บถื
อกั
น
คื
อการเป็
น “บอกอเครางาม” คนเบื้
องหลั
งผู
้
ผลั
กดั
นนั
กเขี
ยน
รุ
่
นใหม่
นั
กเขี
ยนรางวั
ลซี
ไรต์
แทบทุ
กรุ
่
น ตั้
งแต่
ชาติ
กอบจิ
ตติ
วิ
มล ไทรนิ่
มนวล วิ
นทร์
เลี
ยววาริ
ณ กนกพงศ์
สงสมพั
นธุ
์
เดื
อนวาด พิ
มวนา เรวั
ติ
พั
นธุ
์
พิ
พั
ฒน์
ประชาคม ลุ
นาชั
ย
จนถึ
ง อุ
ทิ
ศ เหมะมู
ล ล้
วนแล้
วแต่
เคยผ่
านสนามของนิ
ตยสาร
เรื่
องสั้
น
ช่
อการะเกด
ที่
มี
สุ
ชาติ
เป็
นบรรณาธิ
การมาก่
อนทั้
งสิ้
น
นอกเหนื
อจากมิ
ติ
การเป็
นบรรณาธิ
การมื
ออาชี
พและนั
ก
ประวั
ติ
ศาสตร์
วรรณกรรมแล้
ว สุ
ชาติ
ยั
งมี
อี
กหลายสถานะใน
วงการศิ
ลปะของเมื
องไทย
ในฐานะนั
กเขี
ยน เขามี
ผลงานเรื่
องสั้
นและบทกวี
จ�
ำนวน
หนึ่
ง ซึ่
งหากคิ
ดโดยปริ
มาณแล้
วอาจไม่
มากนั
ก หากแต่
ถื
อได้
ว่
าเป็
น “หมุ
ดหมาย” ส�
ำคั
ญแห่
งยุ
คสมั
ย
เริ่
มต้
นด้
วย
ความเงี
ยบ
ผลงานรวมเล่
มเรื่
องสั้
น บทกวี
และบทละครของเขา
เนื่
องเพราะความ “ล�้
ำยุ
ค” ตั้
งแต่
เมื่
อแรกตี
พิ
มพ์
ออกมา
ในปี
พ.ศ. ๒๕๑๕
ความเงี
ยบ
ถู
กกล่
าวขวั
ญถึ
งว่
าเป็
น
หนั
งสื
อที่
อ่
านยากหรื
อเข้
าไม่
ถึ
ง เรื่
องสั้
นแต่
ละเรื่
องเป็
น
เหมื
อนภาพปะติ
ดปะต่
อชิ้
นส่
วนของความทรงจ�
ำและเรื่
องราว
ในบรรยากาศกึ่
งฝั
นกึ่
งจริ
ง ชนิ
ดที่
อาจเรี
ยกด้
วยส�
ำนวนสมั
ย
นี้
ว่
า “สุ
ดเซอร์
ฯ” แต่
๓๐ กว่
าปี
ต่
อมา ดร. ธี
รา สุ
ขสวั
สดิ์
ณ อยุ
ธยา ซึ่
งท�
ำงานวิ
จั
ยว่
าด้
วยเรื่
องหนั
งสื
อเล่
มเดี
ยวกั
นนั้
น
ประเมิ
นคุ
ณค่
าของ
ความเงียบ
ไว้
ว่
า
“ไม่
เพี
ยงเป็
นงานปฏิ
กิ
ริ
ยาต่
อระบบอุ
ตสาหกรรมนิ
ยม
หรื
อทุ
นนิ
ยม การใช้
ชี
วิ
ตที่
ขาดเป้
าหมายและคุ
ณค่
าของความ
เป็
นมนุ
ษย์
ของชนชั้
นกลางเท่
านั้
น แต่
ยั
งแสดงความคิ
ด
ต่
อต้
านการปกครองที่
เน้
นการโฆษณาชวนเชื่
อของรั
ฐบาล
‘คนกิ
นคน’ ทั้
งเรื่
องเศรษฐกิ
จ นโยบายการเมื
อง การ
ต่
างประเทศ ซึ่
งเป็
นสิ่
งหลอกลวงประชาชน และขั
ดแย้
งต่
อ
ความเป็
นจริ
งมาโดยตลอด รวมทั้
งวิ
จารณ์
ระบบสั
งคมและ
การศึ
กษาไทยอย่
างตรงไปตรงมาอี
กด้
วย”
จิ
นตนาการสามบรรทั
ด
ปรากฏตั
วขึ้
นในปี
พ.ศ.
๒๕๓๑ เป็
นหนั
งสื
อรวมงานเขี
ยนชุ
ดที่
เขาอธิ
บายว่
า
“เพื่
อหลี
กเลี่
ยงความจ�
ำกั
ดบางอย่
าง ผมจึ
งไม่
เรี
ยกชิ้
นงาน
ของผมว่
าเป็
น “บทกวี
” หรื
อ “แคนโต้
” หรื
อ “ไฮกุ
” แต่
ได้
บั
ญญั
ติ
ภาษาของผมขึ้
นมาเรี
ยกว่
า ‘จิ
นตนาการสาม
บรรทั
ด’...”
1...,64,65,66,67,68,69,70,71,72,73
75,76,77,78,79,80,81,82,83,84,...124