หาความรู
้
เรื
่
อง “มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทาง
วั
ฒนธรรม”
กระทรวงวั
ฒนธรรมจั
ดพิ
มพ์
หนั
งสื
อ
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
เมื
่
อปี
พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ปี
พ.ศ. ๒๕๕๓ ส่
ง
มอบให้
แก่
หน่
วยงานที
่
เกี
่
ยวข้
องและห้
อง
สมุ
ดทั
่
วประเทศ นอกจากนี
้
ข้
อมู
ลมรดก
ภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม รายชื
่
อมรดก
ภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
เกณฑ์
การขึ
้
นทะเบี
ยน ข้
อมู
ลข่
าวสารต่
าง ๆ
สามารถสื
บค้
นได้
ที
่
/
ichthailand หรื
อ เฟสบุ
๊
ก “มรดกภู
มิ
-
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม”
วี
ดิ
ทั
ศน์
“มรดกภู
มิ
ปั
ญญา”
มี
สารคดี
ชุ
ด “บั
นทึ
กวั
ฒนธรรม”
กล่
าวถึ
งมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
รวม ๓๐ ตอน อาทิ
หนั
งใหญ่
เครื
่
อง
จั
กสานย่
านลิ
เภา ต�
านานพระแก้
วมรกต
มวยไทย ฤๅษี
ดั
ดตน ฯลฯ ติ
ดต่
อขอรั
บ
ได้
ที
่
กลุ
่
มปกป้
องคุ
้
มครองมรดกภู
มิ
ปั
ญญา
ส�
านั
กมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม เลขที
่
๑๔ ถนน
เที
ยมร่
วมมิ
ตร ห้
วยขวาง กรุ
งเทพฯ
๑๐๓๑๐ โทร. ๐-๒๒๔๗-๐๐๑๓ ต่
อ
๑๓๑๒-๑๓๑๔
กรณี
ยู
เนสโกประกาศรั
บรอง Royal
ballet of Cambodia และ Sbek
Thom, Khmer shadow theatre
ของกั
มพู
ชา ที
่
คล้
ายกั
บ “โขน” และ
“หนั
งใหญ่
” ของไทย ในบั
ญชี
รายการ
ตั
วแทนมรดกทางวั
ฒนธรรมที
่
จั
บต้
อง
ไม่
ได้
ของมนุ
ษยชาติ
การประกาศบั
ญชี
รายการตั
วแทน
มรดกทางวั
ฒนธรรมที
่
จั
บต้
องไม่
ได้
ของ
มนุ
ษยชาติ
ตามที
่
ก�
าหนดในอนุ
สั
ญญาฯ
ไม่
ได้
เป็
นการประกาศความเป็
นลิ
ขสิ
ทธิ
์
หรื
อการเป็
นเจ้
าของแต่
เพี
ยงผู
้
เดี
ยว
วั
ฒนธรรมของไทยกั
บเขมรมี
ความคล้
าย
กั
น แต่
ก็
ยั
งมี
ลั
กษณะเฉพาะแยกกั
น โดย
ในกรณี
ของ Royal ballet of Cambodia
และ Sbek Thom, Khmer shadow
theatre ของกั
มพู
ชา ได้
รั
บการประกาศเป็
น
ผลงานชิ
้
นเอกมรดกวั
ฒนธรรมมุ
ขปาฐะ
หรื
อจั
บต้
องไม่
ได้
ก่
อนที
่
อนุ
สั
ญญาจะมี
ผลใช้
บั
งคั
บ ซึ
่
งต่
อมายู
เนสโกได้
น�
ามา
ประกาศอยู
่
ในบั
ญชี
รายการตั
วแทนฯ ใน
ปี
พ.ศ. ๒๕๕๑ พร้
อมกั
บรายการจาก
ประเทศต่
าง ๆ รวมทั
้
งสิ
้
น ๙๐ รายการ
ทั
้
งนี
้
หากประเทศไทยเข้
าเป็
นภาคี
อนุ
สั
ญญาฯ ก็
สามารถเสนอ “โขน” และ
“หนั
งใหญ่
” ขอขึ
้
นบั
ญชี
รายการตั
วแทน
มรดกทางวั
ฒนธรรมที
่
จั
บต้
องไม่
ได้
ของ
มนุ
ษยชาติ
ได้
เช่
นกั
น
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมมี
เจ็
ด
สาขา
กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรมได้
จ�
าแนก
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมออกเป็
น
เจ็
ดสาขา คื
อ ๑. ภาษา ๒. วรรณกรรม
พื
้
นบ้
าน ๓. ศิ
ลปะการแสดง ๔. แนว
ทางปฏิ
บั
ติ
ทางสั
งคม พิ
ธี
กรรมและงาน
เทศกาล ๕. งานช่
างฝี
มื
อดั
้
งเดิ
ม ๖. ความรู
้
และแนวปฏิ
บั
ติ
เกี
่
ยวกั
บธรรมชาติ
และ
จั
กรวาล และ ๗. กี
ฬาภู
มิ
ปั
ญญาไทย
ไทยมี
“มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม”
๘๐ รายการ
กระทรวงวั
ฒนธรรมประกาศขึ
้
น
ทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ของชาติ
ไว้
๘๐ รายการ (เริ
่
มปี
พ.ศ.
๒๕๕๒ มี
๒๕ รายการ ปี
ต่
อ ๆ มาคื
อ
๒๕ และ ๓๐ รายการตามล�
าดั
บ) และ
จะประกาศขึ
้
นทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญา
ทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจ�
าปี
พ.ศ.
๒๕๕๕ ในเดื
อนสิ
งหาคมนี้
การปกป้
องคุ
้
มครองมรดกภู
มิ
ปั
ญญา
ทางวั
ฒนธรรมท�
าได้
อย่
างไร
กระบวนการปกป้
องคุ
้
มครองมรดก
ภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมจะต้
องให้
ชุ
มชน
กลุ
่
มคน หรื
อปั
จเจกบุ
คคล ซึ
่
งถื
อครอง
หรื
อที
่
มี
ส่
วนเกี
่
ยวข้
องทั
้
งทางตรงและทาง
อ้
อมเข้
ามามี
ส่
วนร่
วมด�
าเนิ
นการ ตั
้
งแต่
การจ�
าแนก การบั
นทึ
กหลั
กฐาน การวิ
จั
ย
การสนั
บสนุ
นส่
งเสริ
มให้
มี
การสื
บสาน
การถ่
ายทอด การอนุ
รั
กษ์
และการ
สร ้
างสรรค ์
อย ่
างยั
่
งยื
นตามสภาพ
แวดล้
อมที่
เหมาะสม
เมษายน-มิ
ถุ
นายน
๒๕๕๕
69
๔
๘
๙
๕
๖
๗