48
งานบุ
ญเทศน์
มหาชาติ
นั
บเป็
นงานบุ
ญที่
สำ
�คั
และยิ่
งใหญ่
ของพุ
ทธศาสนิ
กชนทั่
วทุ
กภาคของประเทศไทย
ในพื้
นที่
ภาคใต้
ภาคกลาง ภาคตะวั
นออกและภาคตะวั
นตก
งานบุ
ญเทศน์
มหาชาติ
จะจั
ดให้
มี
ขึ้
นเมื่
อย่
างเข้
าสู่
เดื
อน ๑๑
ต่
อเนื่
องจนถึ
งเดื
อน ๑๒ หลั
งฤดู
การถวายกฐิ
น ส่
วนในพื้
นที่
ภาคเหนื
อจะมี
การจั
ดขึ
นในช่
วงเดื
อนยี
ของชาวเหนื
อ ขณะที
ภาคอี
สานจะมี
การจั
ดขึ้
นในช่
วงเดื
อน ๔ โดยคติ
ความเชื่
ในเรื่
องของการทำ
�บุ
ญเทศน์
มหาชาติ
นี้
ก็
คื
อ ผู้
ใดก็
ตาม
หากได้
ฟั
งเทศน์
มหาชาติ
แล้
วจะได้
บุ
ญใหญ่
กุ
ศลแรง ถื
อเป็
ผู้
ที่
เกิ
ดทั
นพระศาสนา และยิ
งถ้
าได้
ฟั
งเทศน์
มหาชาติ
จบ
๑๓ กั
ณฑ์
อั
นประกอบด้
วย กั
ณฑ์
ทศพร กั
ณฑ์
หิ
มพานต์
กั
ณฑ์
ทานกั
ณฑ์
กั
ณฑ์
วนปเวสน์
กั
ณฑ์
ชู
ชก กั
ณฑ์
จุ
ลพน
กั
ณฑ์
มหาพน กั
ณฑ์
กุ
มาร กั
ณฑ์
มั
ทรี
กั
ณฑ์
สั
กบรรพ
กั
ณฑ์
มหาราช กั
ณฑ์
ฉกษั
ตริ
ย์
กั
ณฑ์
นครกั
ณฑ์
แล้
กุ
ศลผลบุ
ญนั้
นจะนำ
�ส่
งให้
ไปเกิ
ดในร่
มพระธรรมยุ
พระศรี
อริ
ยเมตไตรย จะได้
ไปเกิ
ดในทิ
พยวิ
มาน จะไม่
ไปเกิ
ในภพแห่
งความทุ
กข์
จะเป็
นผู้
มี
ความสุ
ข มี
ลาภยศไมตรี
และ
สำ
�เร็
จในมรรคผลปริ
นิ
พพาน
ด้
วยเหตุ
นี
เองงานบุ
ญประเพณี
บุ
ญเทศน์
มหาชาติ
จึ
งเป็
นเครื่
องสะท้
อนให้
เห็
นถึ
งวิ
ถี
ชี
วิ
และคติ
ความเชื
อของผู
คนในสั
งคมไทยที
ยั
งคงแนบแน่
นอยู
กั
พุ
ทธศาสนามาอย่
างต่
อเนื่
องยาวนาน
นอกเหนื
อไปจากนี
แล้
ว คติ
ความเชื
อและความสำ
�คั
ของประเพณี
เทศน์
มหาชาติ
ยั
งปรากฏในวั
ฒนธรรมหลวง
โดยสะท้
อนผ่
านวรรณกรรมเรื่
อง ‘มหาชาติ
คำ
�หลวง’ ฉบั
ภาษาไทย ซึ่
งสมเด็
จพระบรมไตรโลกนาถ ได้
ทรงโปรดฯ ให้
มี
การประชุ
มสงฆ์
นั
กปราชญ์
ราชบั
ณฑิ
ตเพื่
อทำ
�การแปลและ
แต่
งขึ้
น เมื่
อ พ.ศ.๒๐๒๕ ทั้
งยั
งปรากฏในวรรณกรรม
อี
กหลายสำ
�นวน หลายยุ
คสมั
ยสื
บต่
อมา เฉพาะส่
วนที่
เป็
ฉบั
บหลวงก็
มี
จำ
�นวนมากหลากหลายลั
กษณะการประพั
นธ์
นอกจากนี้
ยั
งปรากฏเป็
นพระราชพิ
ธี
หลวงมาตั้
งแต่
สมั
ยสุ
โขทั
ย สื
บเนื่
องจนถึ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ต่
อมาในแผ่
นดิ
พระบาทสมเด็
จพระพุ
ทธยอดฟ้
าจุ
ฬาโลก ได้
มี
การฟื้
นฟู
ประเพณี
การเทศน์
มหาชาติ
ขึ้
นมาครั้
งใหญ่
และในช่
วงต้
กรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
นี้
เองที่
ได้
มี
การแต่
งพระเวสสั
นดรชาดก
เป็
น ‘ร่
ายยาว’ สำ
�หรั
บให้
พระเทศน์
เป็
นทำ
�นอง ตั้
งเป็
เทศกาลเฉพาะ เรี
ยกประเพณี
เทศน์
มหาชาติ
นิ
ยมทำ
�ใน
วั
ดทั่
วไปหลั
งออกพรรษาช่
วงเดื
อน ๑๒ ถึ
งเดื
อน ๔
ประเพณี
เทศน์
มหาชาติ
อั
นเป็
นวั
ฒนธรรมหลวงได้
ส่
งผ่
าน
ไปยั
งวั
ฒนธรรมราษฎร์
ดั
งปรากฏในภาคเหนื
อที
มี
มหาชาติ
ภาคพายั
พซึ
งเขี
ยนเป็
นภาษาล้
านนา หลายฉบั
บหลายสำ
�นวน
ภาคอี
สานมี
มหาชาติ
คำ
�เฉี
ยง ส่
วนทางภาคใต้
มี
มหาชาติ
ชาดกฉบั
บวั
ดมั
ชฌิ
มาวาสสงขลา เป็
นต้
น และยั
งมี
มหาชาติ
สำ
�นวนต่
างๆ อี
กมากมายที
แต่
งกั
นเองโดยอิ
สระกระจายอยู
ตาม
หั
วเมื
องต่
างๆ
อย่
างไรก็
ตาม ในแง่
ของรายละเอี
ยดและรู
ปแบบ
จะพบว่
างานบุ
ญประเพณี
เทศน์
มหาชาติ
ในแต่
ละภู
มิ
ภาคนั้
ล้
วนแล้
วแต่
มี
แบบแผนทางพิ
ธี
กรรมที่
มี
ลั
กษณะเฉพาะตั
แตกต่
างกั
นออกไป ส่
งผลให้
เกิ
ดเป็
นงานบุ
ญประเพณี
ที่
มี
รู
ปแบบและรายละเอี
ยดของการจั
ดงานที่
มี
ความหลากหลาย
จนกระทั่
งกลายเป็
นอั
ตลั
กษณ์
เฉพาะถิ่
นไปในที่
สุ
ในภาคเหนื
อประเพณี
เทศน์
มหาชาติ
เรี
ยกกั
นว่
‘ประเพณี
การตั้
งธรรม’ โดยจะมี
การจั
ดขึ้
นในช่
วงเดื
อนยี่
ของทุ
กปี
หรื
อที่
รู้
จั
กกั
นดี
ในชื่
อว่
า ‘เทศกาลยี่
เป็
ง’ สำ
�หรั
ชาวเหนื
อแล้
วงานบุ
ญดั
งกล่
าวนี้
ถื
อเป็
นจารี
ตที่
ต้
องปฏิ
บั
ติ
มิ
ให้
ขาด เมื่
อใกล้
ถึ
งวั
นงานซุ้
มประตู
วั
ดแต่
ละแห่
งจะถู
ตกแต่
งประดั
บประดาอย่
างสวยงาม เรี
ยกว่
า ‘ประตู
ป่
า’
เปรี
ยบให้
เป็
นเหมื
อนดั่
งประตู
เข้
าสู่
เขาวงกต ซึ่
งมี
พราน
เจตบุ
ตรคอยเฝ้
ามิ
ให้
ผู้
ใดกล้
�กลายไปรบกวนพระเวสสั
นดร
ขณะบำ
�เพ็
ญเพี
ยรภาวนา นอกจากนี้
ภายในบริ
เวณวั
ดยั
งมี
การประดั
บประดาด้
วยซุ้
มโคมกระดาษที่
ตั
ดแต่
งเป็
นช่
อย่
างสวยงามชวนมอง
พระธรรมโมลี
, ดร. (มิ
ถุ
นายน ๒๕๕๖). สั
มภาษณ์
. วั
ดศาลาลอย พระอารามหลวง จั
งหวั
ดสุ
ริ
นทร์
.
ปราณี
วงศ์
เทศ. (๒๕๓๗).อิ
ทธิ
พลของประเพณี
หลวงที่
มี
ต่
อประเพณี
ราษฎร์
ใน สารานุ
กรมไทยสำ
�หรั
บเยาวชนฯ เล่
มที่
๑๘.
กรุ
งเทพฯ : โครงการสารานุ
กรมสำ
�หรั
บเยาวชน โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
วฯ
ปิ
ยวรรณ์
สุ
ธารั
ตน์
. อ้
างถึ
งโดย
บุ
ญตา เขี
ยนทองกุ
ล. (๒๕๓๙). วิ
เคราะห์
งานดุ
ริ
ยางคศิ
ลป์
ที่
ใช้
ประกอบการเทศน์
มหาชาติ
. ปริ
ญญาศิ
ลปศาสตร์
มหาบั
ณฑิ
ต สาขาวั
ฒนธรรมศึ
กษา. มหาวิ
ทยาลั
ยมหิ
ดล
1...,40,41,42,43,44,45,46,47,48,49 51,52,53,54,55,56,57,58,59,60,...124