100
วั
ฒนธ รม
“นาคาคติ
” ในวั
ฒนธรรมจี
น
ค�
าเรี
ยกพญานาคของชาวจี
นนั
้
นก็
คื
อค�
าว่
า “มั
งกร”
เขี
ยนเป็
นอั
กษรจี
น :
龍
(เล้
ง) มั
งกรจี
นหรื
อที
่
ชาวจี
น
เรี
ยกแตกต่
างตามการออกเสี
ยงในแต่
ละท้
องถิ
่
นว่
า
“เล้
ง-เล่
ง-หลง-หลุ
ง” ในคติ
ของจี
นเชื
่
อกั
นว่
ามั
งกรคื
อ
เทพเจ้
าองค์
หนึ
่
ง ท�
าหน้
าที
่
ปกป้
องคุ
้
มครองปราสาท
ราชวั
งบนสรวงสวรรค์
เป็
นสั
ตว์
ที
่
ทรงพลั
งและศั
กดิ
์
สิ
ทธิ
์
แห่
งฟ้
าและดิ
น เป็
นสั
ญลั
กษณ์
ที
่
น�
ามาซึ
่
งความสุ
ข
ความอุ
ดมสมบู
รณ์
ของบ้
านเมื
อง ความเป็
นสิ
ริ
มงคล
และเป็
นสั
ญลั
กษณ์
ของเพศชาย
มั
งกรจี
นที
่
มี
กรงเล็
บห้
าเล็
บถื
อเป็
นสั
ญลั
กษณ์
ของ
จั
กรพรรดิ
หรื
อฮ่
องเต้
ซึ
่
งเปรี
ยบประดุ
จสมมุ
ติ
เทพ ใน
สมั
ยราชวงศ์
ชิ
ง (พ.ศ. ๒๑๗๘-๒๔๕๕) กษั
ตริ
ย์
จะประทั
บ
บนบั
ลลั
งก์
มั
งกร เดิ
นทางโดยเรื
อมั
งกร เสวยพระ
กระยาหารบนโต๊
ะมั
งกร บรรทมบนเตี
ยงมั
งกร รวมถึ
งธง
ประจ�
าราชวงศ์
และตราประจ�
าแผ่
นดิ
นก็
มี
สั
ญลั
กษณ์
เป็
นรู
ปมั
งกร
การเสื่
อมความคิ
ดเรื่
องนาค
ในเขตวั
ฒนธรรมพม่
า
ชาวพม่
าสมั
ยก่
อนที
่
จะนั
บถื
อพระพุ
ทธศาสนาก็
นั
บถื
อบู
ชางู
หรื
อพญานาคเช่
นเดี
ยวกั
น หากต่
อมาใน
ราว พ.ศ. ๑๔๐๐ พระเจ้
าอโนรธามั
งฉ่
อ (หรื
อพระเจ้
า
อนุ
รุ
ทธ) แห่
งกรุ
งพุ
กาม ทรงเกิ
ดความเลื
่
อมใสพระพุ
ทธ-
ศาสนาหลั
งจากได้
ฟั
งพระพุ
ทธวจนะจากพระสงฆ์
ที
่
มาจากกรุ
งสะเทิ
ม จึ
งโปรดให้
เลิ
กการบู
ชางู
ที
่
เคยเป็
น
จารี
ตของกรุ
งพุ
กามมากว่
า ๘๐ ปี
ลง ทั
้
งยั
งทรงให้
ขั
บไล่
พวกนั
กบวชที
่
บู
ชางู
ที
่
เรี
ยกกั
นว่
า “อรี
ย์
” ออกไปจาก
เมื
อง และนิ
มนต์
พระสงฆ์
พวกพระอรหั
นต์
จากกรุ
ง
สะเทิ
มนั้
นมาแทน
หากแต่
ยั
งมี
เค้
าการนั
บถื
อนาคในพม่
าที
่
ยั
ง
หลงเหลื
อปรากฏอยู
่
ในโบราณสถาน เช่
นที
่
ประดิ
ษฐาน
เทวรู
ปพม่
า ๓๗ องค์
ณ พระมหาธาตุ
เจดี
ย์
ชเวสิ
กอง
(Shwezigon Pagoda) เมื
องพุ
กามนั
้
น มี
ศิ
ลารู
ปนาค
ประดั
บเอาไว้
ที
่
ฐานเจดี
ย์
โดยมี
นิ
ทานกล่
าวไว้
ว่
า นาค
นั
้
นเป็
นผู
้
ชะลอธรณี
ที
่
ตั
้
งพระเจดี
ย์
ขึ
้
นมาจากท้
องแม่
น�
้
า
อิ
รวดี
๕
๖
1...,92,93,94,95,96,97,98,99,100,101
103,104,105,106,107,108,109,110,111,112,...124