96
ปาริ
สุ
ทธิ์
เลิ
ศคชาธาร
แผ่
นดิ
นเดี
ยว
ในความหมายกว้
างๆ ของคำ
�ว่
า “เปอรานากั
น”
(Peranakan) หมายถึ
ง กลุ
่
มลู
กครึ
่
งมลายู
-จี
น ที
่
มี
วั
ฒนธรรม
ผสมผสานกั
นทั้
งสองเชื้
อชาติ
เนื่
องจากในช่
วงปลาย
คริ
สต์
ศตวรรษที่
๑๕-๑๖ ได้
มี
กลุ่
มพ่
อค้
าชาวจี
น โดย
เฉพาะอย่
างยิ่
งจี
นฮกเกี้
ยนจากมณฑลฝู
เจี้
ยน รวมทั้
ง
จากไหหนาน ซั
วเถา กวางตุ้
ง และกวางโจว ได้
เดิ
นทาง
เข้
ามาค้
าขายในบริ
เวณคาบสมุ
ทรมลายู
และหมู่
เกาะ
ในอิ
นโดนี
เซี
ย ซึ
่
งจุ
ดสำ
�คั
ญคื
อมะละกา และได้
ตั้
งถิ่
นฐาน
ในเมื
องนี้
รวมไปถึ
งปี
นั
งและสิ
งคโปร์
เนื่
องจากถิ่
นฐาน
เดิ
มของชาวจี
นกลุ่
มนี้
ตั้
งอยู่
บริ
เวณพื้
นที่
ที
่
ติ
ดกั
บทะเล
เช่
นเดี
ยวกั
น
ชาวจี
นเหล่
านี้
จำ
�เป็
นที่
จะต้
องพำ
�นั
กอยู่
บริ
เวณ
แหลมมลายู
เป็
นเวลานานเพื่
อสร้
างฐานเศรษฐกิ
จของตน
ให้
มั่
นคง รวมทั้
งต้
องรอคอยลมมรสุ
มที่
จะเปลี่
ยนทิ
ศทาง
เพื่
อเดิ
นทางกลั
บ ทำ
�ให้
พวกเขาได้
สร้
างบ้
านหลั
งที่
สองขึ้
น
และสร้
างครอบครั
วกั
บหญิ
งชาวมลายู
ท้
องถิ
่
น ภรรยาชาวมลายู
จะเป็
นผู้
ดู
แลธุ
รกิ
จที่
นี
่
ยามที่
สามี
ต้
องกลั
บบ้
านเกิ
ดเมื
องนอน
เป็
นระยะๆ ดั
งนั้
นจึ
งทำ
�ให้
เกิ
ดสายเลื
อดหรื
อกลุ
่
มชาวจี
น
กลุ่
มใหม่
ที่
มี
เชื้
อสายของผู้
ชายชาวจี
นกั
บผู้
หญิ
งชาวมลายู
ซึ่
งหากเป็
นผู้
ชายจะถู
กเรี
ยกว่
า “บ้
าบ๋
า” (Baba) ส่
วนผู้
หญิ
ง
จะถู
กเรี
ยกว่
า “ย่
าหยา” หรื
อ “ยองยา” (Nyonya)
สายสั
มพั
นธ์
เปอรานากั
น
ความกลมกลืนของวั
ฒนธรรมต่
างพรมแดน
1...,88,89,90,91,92,93,94,95,96,97
99,100,101,102,103,104,105,106,107,108,...124