31
กรกฎาคม-กั
นยายน ๒๕๕๖
ขุ
นช้
างขุ
นแผน
ยอดนิ
ทานเสภาไทย
“ขุ
นช้
างขุ
นแผน” เป็
นนิ
ทานเก่
าเล่
าขานแต่
โบราณมา จนได้
รั
บการยกย่
องให้
เป็
นวรรณคดี
ที่
มี
คุ
ณค่
าเชิ
งวรรณศิ
ลป์
ด้
วยเชิ
งชั
นทางภาษาเสมื
อนหนึ
งกระจกเงาสะท้
อนภาพวิ
ถี
ชี
วิ
ตความเป็
นอยู
ของผู
คน รวมถึ
งบ้
านเมื
องในสมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์
ตอนต้
ไว้
อย่
างคมคาย อี
กทั้
งยั
งทำ
�ให้
เราได้
เห็
นภาพความทรงจำ
�ในสมั
ยนั้
นราวกั
บก้
าวย้
อนสู่
อดี
ตอั
นเต็
มไปด้
วยอรรถรส โดยมี
ตั
วละครหลั
ก คื
อ ขุ
นช้
าง ขุ
นแผน และนางวั
นทอง ซึ่
งตั
วละครทั้
ง ๓ นั้
น ปั
จจุ
บั
นก็
ถู
กขนานนามในแง่
เปรี
ยบเปรยผู้
คน
อยู
เนื
องๆ เช่
นว่
า “เจ้
าชู
เหมื
อนขุ
นแผน”, “เจ้
าเล่
ห์
เหมื
อนขุ
นช้
าง” และ “นางวั
นทองสองใจ” แม้
จะเป็
นวรรณคดี
ที
ประพั
นธ์
ขึ
นมา
เพื่
อเป็
นเครื่
องบั
นเทิ
งใจเท่
านั้
น แต่
แก่
นเนื้
อหาก็
แฝงแง่
คิ
ดคติ
สอนใจได้
อย่
างลึ
กซึ้
มุ
ขปาฐะ-ลายลั
กษณ์
กมล แก้
วปลั่
ตำ
�นานนิ
ทานเล่
นิ
ทานขุ
นช้
างขุ
นแผน ได้
รั
บการยกย่
องและกล่
าวขาน
ถึ
งความงดงามทางด้
านภาษา จิ
นตนาการของผู
แต่
ง รวมถึ
ความสอดคล้
องสั
มพั
นธ์
กั
นในแต่
ละถ้
อยคำ
� และเมื
อนำ
�มา
ขั
บเสภาก็
สร้
างอรรถรสให้
กั
บผู
ฟั
งได้
เป็
นอย่
างดี
เรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผนมี
ผู้
สั
นนิ
ษฐานว่
า เกิ
ดขึ้
นใน
สมั
ยแผ่
นดิ
นของสมเด็
จพระรามาธิ
บดี
ที
๒ เป็
นนิ
ทาน
รั
กสามเส้
าที
ชาวกรุ
งศรี
อยุ
ธยาเล่
าขานกั
นหรื
อเป็
น “มุ
ขปาฐะ”
(การบอกเล่
าต่
อๆ กั
นมาโดยมิ
ได้
เขี
ยนเป็
นลายลั
กษณ์
อั
กษร)
ภายหลั
งมี
ผู้
นำ
�เรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผนมาแต่
งเป็
นกลอน
ประกอบ “การขยั
บกรั
บขั
บเสภา” มาตั
งแต่
ต้
นกรุ
งศรี
อยุ
ธยา
จึ
งทำ
�ให้
ผู
คนในสมั
ยนั
นนิ
ยมแพร่
หลายกั
นมากขึ้
ครั้
นเมื่
อกรุ
งแตกต้
นฉบั
บบางช่
วงบางตอน
ก็
สู
ญหายไป แต่
ตอนที
คงเหลื
อต้
นฉบั
บอยู่
เนื้
อเรื่
อง
ไม่
ต่
อเนื
องกั
น พระบาทสมเด็
จพระพุ
ทธเลิ
ศหล้
านภาลั
โปรดเกล้
าฯ ให้
กวี
หลายท่
านช่
วยกั
นรวบรวมและแต่
งขึ
นใหม่
เรี
ยกว่
า “เสภาหลวง”
การชุ
มนุ
มของกวี
ในครั้
งนั้
นจึ
งเป็
นการประกวด
ฝี
ปากเชิ
งกลอนเต็
มที่
เรี
ยกได้
ว่
า ใครมี
กลเม็
ดเด็
ดพราย
ก็
งั
ดมาประชั
นขั
นแข่
งกั
นแบบหมดเปลื
อก ทำ
�ให้
เสภาเรื่
อง
ขุ
นช้
างขุ
นแผนมี
ความไพเราะเพราะพริ้
งเป็
นอย่
างมาก
อย่
างไรก็
ตาม ก็
ได้
มี
นั
กขั
บเสภาในระยะหลั
งแต่
งเรื่
อง
ขุ
นช้
างขุ
นแผนขึ้
นอี
กหลายครั้
งหลายสำ
�นวน เพื่
อใช้
ขั
บเสภา
เป็
นตอนๆ ใน พ.ศ. ๒๔๖๐ หอสมุ
ดวชิ
รญาณได้
ชำ
�ระหนั
งสื
เสภาเรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผนขึ้
น ทั้
งฉบั
บหลวงและฉบั
บราษฎร
ที่
ชาวบ้
านได้
แต่
งและเขี
ยนไว้
สำ
�หรั
บขั
บเสภาในงานรื่
นเริ
ต่
างๆ โดยมี
สมเด็
จกรมพระยาดำ
�รงราชานุ
ภาพและ
สมเด็
จกรมหมื่
นกวี
พจน์
สุ
ปรี
ชา ทรงเป็
นประธานการชำ
�ระ
ได้
คั
ดเลื
อกเอาสำ
�นวนที่
ดี
ที่
สุ
ดมารวบรวมจนครบทุ
กตอน
โดยในแต่
ละตอนก็
จะมี
ความแตกต่
างเพลิ
ดเพลิ
นกั
นออกไป
ตามจิ
นตนาการของแต่
ละบุ
คคล นั
บได้
ว่
าใช้
ระยะเวลาใน
การแต่
งไม่
น้
อยถึ
งจะรวบรวมได้
จนเสร็
จสมบู
รณ์
แม้
เรื
อง
ขุ
นช้
างขุ
นแผนจะมี
หลายฉบั
บ แต่
ก็
พอจะสรุ
ปเป็
นเรื
องราว
ตามใจความสำ
�คั
ญได้
ว่
า…
1...,23,24,25,26,27,28,29,30,31,32 34,35,36,37,38,39,40,41,42,43,...124