18
ประวั
ติ
ความเป็
นมาของดี
เกร์
ฮู
ลู
มี
ผู้
อธิ
บายไว้
หลายสำ
�นวน เช่
น ดี
เกร์
(Dikir) มี
รากศั
พท์
มาจากคำ
�ว่
า (Zikir)
เป็
นภาษาอาหรั
บ มี
ความหมายถึ
งการอ่
านทำ
�นองเสนาะ
ส่
วนคำ
�ว่
าฮู
ลู
มี
ความหมายว่
า ใต้
หรื
อทิ
ศใต้
จากความ
ดั
งกล่
าวนี้
คำ
�ว่
าดี
เกร์
ฮู
ลู
จึ
งหมายถึ
งการขั
บร้
องบทกลอน
เป็
นทำ
�นองเสนาะซึ่
งมี
ถิ่
นที่
เกิ
ดอยู่
ทางทิ
ศใต้
อี
กสำ
�นวนหนึ่
อธิ
บายว่
าดี
เกร์
ฮู
ลู
เกิ
ดขึ้
นครั้
งแรกในชุ
มชนอำ
�เภอรามั
จั
งหวั
ดยะลา ข้
อสั
งเกตคื
อชาวปั
ตตานี
เรี
ยกชาวรามั
นว่
คนฮู
ลู
หรื
อผู้
ที่
อยู่
ในทิ
ศฮู
ลู
(ทิ
ศใต้
) ศิ
ลปะการขั
บร้
องดี
เกร์
ฮู
ลู
นี้
ชาวมาเลเซี
ยเรี
ยกว่
าดี
เกร์
ปารั
ต มี
ความหมายว่
า ดี
เกร์
ของชาวเหนื
อพิ
จารณาทางภู
มิ
ศาสตร์
นั
บว่
ามี
ความสอดคล้
องกั
เพราะพื้
นที่
ของจั
งหวั
ดยะลาและจั
งหวั
ดปั
ตตานี
ซึ่
งเป็
ถิ่
นที่
ศิ
ลปะเพลงร้
องดี
เกร์
ฮู
ลู
เกิ
ดขึ้
น อยู่
ตอนเหนื
อของ
ประเทศมาเลเซี
รองศาสตราจารย์
ประพนธ์
เรื
องณรงค์
นั
กวิ
ชาการ
ชาวตรั
ง ท่
านผ่
านประสบการณ์
ทางวั
ฒนธรรมภาคใต้
มาตลอดชี
วิ
ต เป็
นอาจารย์
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
วิ
ทยาเขตรู
สมี
แล จั
งหวั
ดปั
ตตานี
ก่
อนที่
จะย้
ายไปเป็
อาจารย์
มหาวิ
ทยาลั
ยรามคำ
�แหงจนเกษี
ยณอายุ
ราชการ
ท่
านได้
อธิ
บายความหมายของ “ดี
เกร์
ฮู
ลู
” ในสารานุ
กรม
วั
ฒนธรรมไทย ภาคใต้
เล่
มที่
๑๔ โดยอ้
างอิ
งพจนานุ
กรม
กามุ
ส เดอวั
น (Kamus Dewan) ว่
า ดี
เกร์
มี
๒ ความหมายคื
ความหมายแรกหมายถึ
งเพลงสวดสรรเสริ
ญพระเจ้
า ปกติ
ใช้
ขั
บร้
องเนื่
องในเทศกาลวั
นกำ
�เนิ
ดพระนบี
(วั
นเมาลิ
ด)
เรี
ยกการสวดนี้
ว่
า ดี
เกร์
เมาลิ
ด อี
กความหมายหนึ่
หมายถึ
งกลอนเพลงที่
นิ
ยมเล่
นกั
นเป็
นกลุ่
มหรื
อเป็
นคณะ
เรี
ยกว่
า ดี
เกร์
ฮู
ลู
และให้
ข้
อมู
ลเพิ
มเติ
มแตกต่
างไปจาก
ที
กล่
าวข้
างต้
นว่
า ดี
เกร์
ฮู
ลู
เกิ
ดขึ้
นครั้
งแรกในท้
องที่
อำ
�เภอมายอ จั
งหวั
ดปั
ตตานี
และอำ
�เภอเบตง จั
งหวั
ดยะลา
จากคำ
�อธิ
บายแม้
รายละเอี
ยดแตกต่
างกั
น แต่
ดี
เกร์
ฮู
ลู
ก็
มี
ประวั
ติ
เกี่
ยวข้
องกั
บจั
งหวั
ดยะลาและปั
ตตานี
องค์
ประกอบของดี
เกร์
ฮู
ลู
มี
๓ ส่
วน คื
อ ส่
วนแรก
เป็
นนั
กเพลง ทำ
�หน้
าที่
แม่
เพลงขั
บร้
องดำ
�เนิ
นเพลง
จำ
�นวน ๒ คน หรื
อมากกว่
า หรื
ออาจแบ่
งเป็
นช่
วงๆ ก็
ได้
ส่
วนที่
๒ เป็
นนั
กดนตรี
ทำ
�หน้
าที่
บรรเลงเครื่
องจั
งหวะต่
างๆ
เช่
น กลองขึ้
นหนั
งหน้
าเดี
ยว จำ
�นวน ๒ ใบ ใบใหญ่
เรี
ยกว่
บานอ - อี
บู
ใบเล็
กเรี
ยกว่
าบานอ - อะเนาะ บานอนี
บางแห่
เรี
ยกว่
ารำ
�มะนา มี
เครื
องดนตรี
ประเภทฆ้
องขนาดใหญ่
และเล็
ลั
กษณะเดี
ยวกั
บฆ้
องโหม่
ง เรี
ยกว่
าฆง จำ
�นวน ๑ – ๒ ลู
แขวนกั
บคานไม้
หรื
อกระจั
ง ลู
กแซ็
ก จำ
�นวน ๑ – ๒ คู
ทั
มบู
ริ
กรั
บ ฉาบเล็
ก บางคณะอาจเพิ่
มเครื่
องดนตรี
อื่
นๆ อี
1...,10,11,12,13,14,15,16,17,18,19 21,22,23,24,25,26,27,28,29,30,...124