กรกฎาคม-กั
นยายน
๒๕๕๕
11
คนอื่
น-การน�
ำเข้
การติ
ดต่
อทางทะเลเพื่
อเชื่
อมโยงด้
านการค้
า ศาสนา 
และสงครามที่
มี
มากขึ้
นหลั
งการสถาปนาตั
วของอาณาจั
กร 
ที่
รุ
งเรื
องด้
านการพาณิ
ชย์
อย่
างเช่
นอยุ
ธยา ท�
ำให้
เกิ
ดการ 
ไหลเวี
ยนทั้
งวั
ตถุ
ดิ
บ วิ
ธี
การ และวั
ฒนธรรมอาหารในลั
กษณะ 
แลกเปลี่
ยนเชื่
อมโยงข้
ามพรมแดนระยะไกล เกิ
ดการ
แยกแยะ คั
ดเลื
อก ผสมผสานจนน�
ำไปสู
การปฏิ
วั
ติ
วั
ฒนธรรม
อาหารครั้
งใหญ่
ในช่
วงเวลานั้
เรื
อส�
ำเภาโปรตุ
เกสคงน�
ำ “พริ
กเทศ” เข้
ามาในอยุ
ธยา
ช่
วงรั
ชกาลสมเด็
จพระเอกาทศรถ ส่
วนเครื่
องเทศมุ
สลิ
ม เช่
อบเชย ยี่
หร่
า จั
นทน์
เทศ ฯลฯ นั้
นเริ่
มเป็
นที่
คุ
นเคยของ 
ราชส�
ำนั
กสยามที่
ติ
ดต่
อและได้
รั
บอิ
ทธิ
พลมุ
สลิ
มเปอร์
เซี
ย 
มาก่
อนหน้
าแล้
ว พร้
อม ๆ กั
บที่
กระทะเหล็
กคุ
ณภาพดี
เห็
ดแห้
ง ซอสปรุ
งรสชนิ
ดต่
าง ๆ มาพร้
อมส�
ำเภาจี
นและญี่
ปุ
ส่
วนมะละกอ น้
อยหน่
า ทุ
เรี
ยน ฯลฯ ผลไม้
แปลก ๆ คงมา
จากดิ
นแดนโลกใหม่
ผ่
านทางหมู
เกาะตอนใต้
ของคาบสมุ
ทร
มลายู
ส่
วนการค้
าทางบกผ่
านพ่
อค้
าวั
วต่
างในภาคเหนื
อก็
ท�
ำให้
กั
บข้
าวมุ
สลิ
ม จี
นฮ่
อ ไทใหญ่
 สิ
บสองปั
นนา แพร่
เข้
ามา
ปะปนกั
บส�
ำรั
บดั้
งเดิ
มของล้
านนา ซึ่
งน่
าจะคื
อต้
มเนื้
อสั
ตว์
ที่
เข้
าเครื่
องเทศพื้
นเมื
องอย่
างเช่
นเม็
ดมะแขว่
น ท�
ำนอง 
เดี
ยวกั
บ “ย�
ำจิ้
นไก่
” ที่
รู้
จั
กกั
นดี
ในปั
จจุ
บั
โลกาภิ
วั
ตน์
ด้
านอาหารนี้
น่
าจะส่
งผลต่
ออาหารไทย 
อย่
างน้
อยก็
สามลั
กษณะ คื
รสชาติ
  พริ
กเทศของเผ็
ดชนิ
ดใหม่
เริ่
มเป็
นที่
นิ
ยม 
อย่
างรวดเร็
วแทนพริ
กไทย มะแขว่
น และดี
ปลี
อั
นเป็
นของ
เผ็
ดกึ่
งร้
อนที่
มี
มาแต่
เดิ
ม เชื่
อว่
าไม่
ว่
าจะเป็
นพริ
กแกง น�้
ำพริ
พริ
กกะเกลื
อจิ้
มผลไม้
 หรื
อผั
ดเนื้
อสั
ตว์
ใส่
พริ
กเผ็
ด ๆ แบบที่
รู
จั
กกั
นในปั
จจุ
บั
นคงเริ่
มมี
ขึ้
นในช่
วงนี้
เอง และคงท�
ำให้
ลิ้
ของคนไทยรั
บรู
และชิ
นกั
บรสเผ็
ดชนิ
ดใหม่
จนมี
ผลต่
อสั
ดส่
วน
ของรสชาติ
อื่
น ๆ ที่
ประกอบอยู่
ในอาหารไทยด้
วย
วั
ฒนธรรม
  อาหารบางกลุ
มแพร่
เข้
ามาพร้
อมกั
บ 
การแสดง “ระดั
บชนชั้
น” ทางสั
งคมด้
วย เช่
นอาหาร 
มุ
สลิ
มเปอร์
เซี
ยซึ่
งนิ
ยมในราชส�
ำนั
กอยุ
ธยานั้
นนั
บได้
ว่
าเป็
น 
“ของใหม่
” แสดงนั
ยถึ
งสถานะสู
งส่
งของชนชั้
นปกครอง 
ซึ่
งมี
ศั
กดิ์
และสิ
ทธิ์
ในการถื
อครองวั
ตถุ
ดิ
บน�
ำเข้
าอย่
าง 
เครื่
องเทศคุ
ณภาพดี
ราคาสู
ง อุ
ปกรณ์
ครั
วและวิ
ธี
ปรุ
งที่
แตกต่
างจากหม้
อดิ
นเผาเตาปิ
งปลาของชาวบ้
านร้
านตลาด
ทั่
วไป ตลอดจน “อ�
ำนาจ” ในการเข้
าถึ
งและลิ้
มรสอาหาร 
ที่
ถื
อว่
าเป็
นสากลของโลกในเวลานั้
ส�
ำรั
บใหม่
 การติ
ดต่
อสั
มพั
นธ์
กั
บกลุ
มชาติ
พั
นธุ
ต่
าง ๆ 
น่
าจะท�
ำให้
เกิ
ดอาหารส�
ำรั
บใหม่
ๆ ขึ้
นในครั
วไทยมากมาย
เป็
นต้
นว่
าผั
ดพริ
กแกงแบบไฟแรง (เสฉวน) แกงเครื่
องเทศ
อย่
างมั
สมั่
นและกะหรี่
 (มุ
สลิ
มเปอร์
เซี
ย) ต้
มเส้
นแกงร้
อน
(ญี่
ปุ
น) ขนมจี
น (มอญ) ข้
าวกั้
นจิ้
นและน�้
ำเงี้
ยว (ไทใหญ่
)
แกงฮั
งเล (จี
นฮ่
อ) ก๋
วยเตี๋
ยว (จี
นแคะ) 
อาหารบางอย่
างที่
ถู
กบั
นทึ
กไว้
ในต�
ำรากั
บข้
าวไทย
โบราณยั
งคงมี
ชื่
อที่
ดู
 “ต่
างด้
าว” อยู
จนปั
จจุ
บั
น เช่
น แกงจี
นจ๊
วน 
แกงบุ
มไบ่
 (แกงไบ๋
เนื้
อวั
วแบบมุ
สลิ
ม) ต้
มจิ๋
ว (น่
าจะมาจาก 
“จิ้
ว” แกงร้
อนแบบหนึ่
งของคนจี
น) แม้
แต่
ส�
ำรั
บบางอย่
าง 
ที่
เรามั
กเชื่
อว่
าเป็
นไทยแท้
 ๆ แต่
โบราณนั้
นก็
มี
ร่
องรอย
ของ “คนอื่
น” อย่
างมี
นั
ยส�
ำคั
ญ เช่
น น�้
ำพริ
กขนมจี
น ข้
าวมั
ส้
มต�
ำ และขนมจี
นซาวน�้
ำนั้
น มี
ความคล้
ายคลึ
งกั
บกั
บข้
าว
มุ
สลิ
มมาก โดยเฉพาะหากพิ
จารณาว่
าการใช้
ถั่
วเมล็
ดแห้
บดหยาบในน�้
ำแกงข้
น ๆ โรยหอมแดงเจี
ยว การหุ
งข้
าวด้
วย
กะทิ
 แล้
วรั
บประทานกั
บแกงเผ็
ดไก่
 เนื้
อเค็
มผั
ดหวาน 
และอาจาดเปรี้
ยว ๆ ตลอดจนการน�
ำหั
วกะทิ
และขิ
งมาปรุ
ง 
ด้
วยกั
นนั้
นย่
อมเป็
นรสชาติ
แบบมุ
สลิ
มอย่
างไม่
ต้
องสงสั
ยิ่
งไม่
ต้
องกล่
าวถึ
งของหวาน ด้
วยว่
าขนมบ้
าบิ่
นและ
สั
งขยานั้
นเป็
นขนม “แบบแขก” อย่
างแน่
ชั
ด ส่
วนขนมที่
เข้
ไข่
แดงกั
บน�้
ำตาลทรายอย่
างทองหยอดฝอยทอง ก็
เป็
นส�
ำรั
หวานของโปรตุ
เกสที่
เข้
ามาเติ
มรายการของหวานเดิ
มอย่
าง
<
(บน)
เราคงแทบนึ
กไม่
ออกว่
าอาหารไทยที่
ไม่
มี
พริ
ก 
จะเป็
นอย่
างไร ทั้
งที่
พริ
ก (หรื
อพริ
กเทศ) พื
ชพื้
นเมื
องทวี
ปอเมริ
กา
เพิ่
งมี
กิ
นมี
ปลู
กในเมื
องไทยเมื่
อไม่
กี่
ร้
อยปี
มานี้
(ล่
าง)
พื้
นที่
ของอาหารไทยปั
จจุ
บั
นมี
ตั้
งแต่
เพิ
งริ
มถนน
ไปจนถึ
งห้
างหรู
กลางใจเมื
อง
1...,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12 14,15,16,17,18,19,20,21,22,23,...124