8
วั
ฒนธ รม
พวกเขามี
พื
ชผั
กผลไม้
อย่
างสมอ แตงร้
าน กระจั
บ
น�้
ำเต้
า มะกอก และถั่
วหลายชนิ
ดกิ
นอย่
างค่
อนข้
าง
หลากหลาย มี
เครื่
องปรุ
งรสเผ็
ดคื
อพริ
กไทย มี
เกลื
อจาก
บ่
อเกลื
อแถบเมื
องน่
านและโนนเกลื
อแถบอ�
ำเภอด่
านขุ
นทด
นครราชสี
มา เชื่
อกั
นว่
าเกลื
อเหล่
านี้
เป็
นสิ
นค้
าส�
ำคั
ญที่
บ้
านเมื
องในอี
สานสมั
ยโบราณส่
งลงไปแลกกั
บปลาที่
มี
อยู
่
อย่
างอุ
ดมสมบู
รณ์
ในเขตโตนเลซาบ (ทะเลสาบ) ของกั
มพู
ชา
และเป็
นส่
วนหนึ่
งของวั
ฒนธรรมปลาร้
าอั
นหลากหลายใน
เมื
องเขมร
ส่
วนชาวหมู
่
เกาะและคาบสมุ
ทรภาคใต้
ก็
คงหามะพร้
าว
และของทะเลจากชายฝั
่
งกิ
นได้
ง่
ายพอ ๆ กั
บที่
ชาวอี
สาน
หาตาลและปลาน�้
ำจื
ดจากแม่
น�้
ำสายใหญ่
และบึ
งหนอง
คลองห้
วยทั่
ว ๆ ไป
เรื่
องเครื่
องมื
อ คนก่
อนประวั
ติ
ศาสตร์
เมื่
อ ๒,๐๐๐ ปี
ก่
อน
รู
้
จั
กใช้
อาวุ
ธเหล็
กล่
าสั
ตว์
อย่
างเก้
ง กวาง กระทิ
ง ควายป่
า
หมู
ป่
า ทั้
งสั
ตว์
ขนาดเล็
กอย่
างนก กระต่
าย เต่
า ตะพาบน�้
ำ
แถมพวกเขารู
้
จั
กน�
ำกระดู
กสั
ตว์
มาท�
ำเบ็
ดตกปลาได้
ก่
อนหน้
า
นั้
นแล้
ว แน่
นอนว่
าสั
ตว์
น�้
ำอื่
น ๆ เช่
น กุ
้
ง หอย ก็
เป็
นที่
นิ
ยมบริ
โภคกั
นมาก การขุ
ดค้
น
สุ
สานมนุ
ษย์
ยุ
คหิ
นใหม่
ในอ�
ำเภอ
พนั
สนิ
คม ชลบุ
รี
พบว่
าหลั
งการ
ฝั
งศพแต่
ละครั้
ง “เจ้
าภาพ” ได้
ก่
อ
กองไฟเผาและต้
มหอยแครงเลี้
ยง
ผู้
มาร่
วมงานครั้
งละมาก ๆ ด้
วย
แต่
ถ้
าพู
ดถึ
งเรื่
องภาชนะ
เครื่
องครั
วนั
บว่
ายั
งค่
อนข้
างขั
ดสน
เพราะแม้
จนเมื่
อ ๒,๐๐๐ ปี
ก่
อน
ก็
ยั
งมี
แค่
หม้
อดิ
นเผาที่
เนื้
อไม่
หนามาก กระทะก็
ยั
งเป็
นดิ
นเผา
ทอดหรื
อผั
ดอะไรก็
ไม่
ได้
ดี
ยั
งต้
องใช้
หิ
นแม่
น�้
ำก้
อนใหญ่
ๆ
แบน ๆ แทนครกที่
คงยั
งไม่
ใคร่
รู
้
จั
กแพร่
หลายในเวลานั้
น
ชุ
มชนแถบชายทะเลและภาคกลางคงใช้
เปลื
อกหอย เช่
น
หอยแมลงภู
่
ตั
กอาหารประเภทต้
มแกง และแน่
นอนว่
าคน
ยุ
คนั้
น “เปิ
บ” หรื
อไม่
ก็
“ปั
้
น” ข้
าวกิ
นด้
วยนิ้
วและอุ
้
งมื
อ ไม่
ได้
ใช้
ช้
อนแบบต่
าง ๆ อย่
างเดี๋
ยวนี้
ด้
วยเงื่
อนไขทั้
งหมดที่
กล่
าวมา “อาหารไทย” หลั
ก ๆ
ในสมั
ยก่
อนจึ
งน่
าจะเป็
นข้
าวหุ
งสุ
กกั
บเครื่
องจิ้
มง่
าย ๆ อย่
างเช่
น
เกลื
อต�
ำกั
บพริ
กไทยหรื
อมะแขว่
น ปรุ
งให้
รสจั
ดเพื่
อจะให้
กิ
นข้
าวและผั
กสดผั
กลวกได้
มากพออิ่
ม ส่
วนกั
บข้
าวประเภท
ต้
มแกงก็
น่
าจะคล้
ายกั
บของที่
นางอั้
วเชี
ยงแสน มเหสี
ของ
พญาง�
ำเมื
อง เจ้
าเมื
องพะเยาในพุ
ทธศตวรรษที่
๑๙ ปรุ
งให้
พญาง�
ำเมื
องกิ
น คื
อ “อ่
อมควาย” ซึ่
งเป็
นการเอาเนื้
อสั
ตว์
หรื
อพื
ชมา “อ่
อม” (ต้
มเคี่
ยวในน�้
ำนาน ๆ กั
บเครื่
องสมุ
นไพร
ปรุ
งเค็
มด้
วยเกลื
อหรื
อน�้
ำปลาร้
า)
กั
บข้
าวลั
กษณะนี้
ที่
ยั
งเหลื
อร่
องรอยอยู่
จนปั
จจุ
บั
นก็
เช่
น
แกงเลี
ยง แกงใบชะมวง (จั
นทบุ
รี
) ต้
มโคล้
ง แกงหลอก
(เพชรบุ
รี
) รวมทั้
งต้
มเปอะและแกงบวน ซึ่
งมี
ส่
วนผสมของ
น�้
ำคั้
นใบสมุ
นไพรตั้
งแต่
หนึ่
งชนิ
ด
ขึ้
นไป บางครั้
งก็
ผสมแป้
งหรื
อ
ข้
าวเบื
อ (ข้
าวสารแช่
น�้
ำต�
ำแหลก)
เพื่
อให้
น�้
ำแกงข้
นและรสชาติ
ดี
ขึ้
นด้
วย
อาหารไทย รวมถึ
งอาหาร
ชาติ
อื่
น ๆ ในเอเชี
ยตะวั
นออก
เฉี
ยงใต้
คงมี
ลั
กษณะคล้
ายคลึ
ง
กั
นนี้
จนกระทั่
งโลกาภิ
วั
ตน์
ทาง
อาหารระลอกแรก ๆ เริ่
มแพร่
เข้
ามาในช่
วงพุ
ทธศตวรรษที่
๒๑
ชาวหมู่
เกาะ
และคาบสมุ
ทรภาคใต้
คงหามะพร้
าวและ
ของทะเลจากชายฝั่
ง
กิ
นได้
ง่
ายพอ ๆ กั
บ
ที่
ชาวอี
สานหาตาล
และปลาน�้
ำจื
ด
จากแม่
น�้
ำสายใหญ่
และบึ
งหนอง
คลองห้
วยทั่
ว ๆ ไป
>
(บน) ผู้
คนแต่
ละถิ่
น
แต่
ละวั
ฒนธรรม
ล้
วนมี
วิ
ธี
และวิ
ถี
การหาอยู่
หากิ
น
ตามสภาพแวดล้
อมของตน
(ล่
าง) ชาวลุ่
มน�้
ำมี
ผั
กมี
ปลา
เป็
นอาหารหลั
ก