60
ดร.มยุ
รี
ถาวรพั
ฒน์
ภาษา
ภาษาเลอเวื
อะ (ละว้
า)
เลอเวื
อะถิ่
นฐานเป็
นมาภาษาแม่
วิ
ถี
ถิ่
นแผ่
นดิ
นบรรพชน
เลอเวื
อะ เป็
นกลุ
่
มชนดั้
งเดิ
มที่
อาศั
ยอยู
่
ใน
ดิ
นแดนทางภาคเหนื
อของประเทศไทยมาเป็
นเวลานาน
ปั
จจุ
บั
นพบว่
าตั้
งถิ
่
นฐานหนาแน่
นอยู
่
ในบริ
เวณหุ
บเขา
ตามแนวตะเข็
บของจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
และแม่
ฮ่
องสอน เช่
น
อ.แม่
แจ่
ม อ.อมก๋
อย อ.ฮอด จ.เชี
ยงใหม่
และ อ.แม่
สะเรี
ยง
อ.แม่
ลาน้
อย จ.แม่
ฮ่
องสอน ค�
ำว่
า “ละเวื
อะ” “ลเวื
อะ” และ
“เลอเวื
อะ” เป็
นค�
ำเรี
ยกที
่
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
นี้
ใช้
เรี
ยกตนเอง
และภาษาของตนเป็
นค�
ำที่
เพิ่
งเริ่
มใช้
กั
นอย่
างแพร่
หลาย
เมื่
อไม่
นานมานี้
ที่
ผ่
านมางานวิ
จั
ยส่
วนใหญ่
เรี
ยกกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
นี้
ว่
า “ลั
วะ” และ “ละว้
า” จากการส�
ำรวจของ
โครงการแผนที่
ภาษากลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในประเทศไทย พบว่
ามี
ผู้
พู
ดภาษานี้
ประมาณ ๕,๐๐๐ คน (สุ
วิ
ไล เปรมศรี
รั
ตน์
และ
คณะ, ๒๕๔๗) ภาษานี้
จั
ดอยู
่
ในตระกู
ลออสโตรเอเชี
ยติ
ก
(Austroasiatic) สาขามอญ-เขมร (Mon-Khmer) สาขาย่
อย
ปะหล่
อง-ว้
า (Palaung-Wa)
ชาวเลอเวื
อะมี
โครงสร้
างทางสั
งคมที่
น่
าสนใจ คื
อ
มี
ซะมาง หรื
อบางที
เขี
ยนเป็
น สะมั
ง หรื
อ สะมาง เที
ยบได้
กั
บ
ขุ
น แต่
ไม่
ถึ
งขั้
นเป็
นกษั
ตริ
ย์
ท�
ำหน้
าที่
ปกครองและจดจ�
ำจารี
ต
ประเพณี
ทุ
กหมู
่
บ้
านจะต้
องมี
ซะมางปกครอง เพราะหาก
ไม่
มี
คนในหมู่
บ้
าน “จะเป็
นลิ
งเป็
นค่
าง” ต�
ำแหน่
งผู้
ช่
วยของ
ซะมางคื
อ ปุ
ลาม รองลงมาคื
อกุ
มวิ
ด (ผู
้
ช่
วยปุ
ลาม) และ
สุ
ดท้
ายคื
อพาย เที
ยบได้
กั
บไพร่
หรื
อประชาชนสามั
ญ (พิ
พั
ฒน์
กระแจะจั
นทร์
: ๒๕๕๖) การปกครองลั
กษณะนี้
ยั
งมี
ใช้
อยู
่
ในเขตจั
งหวั
ดแม่
ฮ่
องสอนและมี
ส่
วนท�
ำให้
สั
งคมคนเลอเวื
อะ
เป็
นสั
งคมที่
มี
ความสงบเรี
ยบร้
อย โดยมี
ความเชื่
อว่
าซะมาง
เป็
นผู
้
ที่
สื
บเชื้
อสายมาจากขุ
นหลวงวิ
ลั
งคะ มี
นิ
ทานหลายเรื่
อง
ที่
สะท้
อนความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างคนไทยกั
บคนเลอเวื
อะ
ชาวเลอเวื
อะมี
วรรณกรรมมุ
ขปาฐะที่
เรี
ยกว่
า เลอซอมแล
(ซึ
่
งมี
เนื้
อหาเกี่
ยวกั
บการสั่
งสอน การเกี้
ยวพาราสี
ระหว่
าง
ชาย-หญิ
ง) การแต่
งกายที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
การท�
ำนาแบบ
ขั้
นบั
นไดประเพณี
ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมต่
างๆเช่
นการแต่
งงาน
การขึ้
นบ้
านใหม่
งานศพ งานเลี้
ยงผี
ซึ่
งมี
ทั้
งการเลี้
ยงผี
เรื
อน
การเลี้
ยงผี
หมู
่
บ้
าน ผี
เจ้
าที่
และผี
ป่
า จะจั
ดขึ้
นตามเวลาที่
สั
มพั
นธ์
กั
บระบบการท�
ำมาหากิ
น อี
กทั้
งยั
งมี
บางส่
วนที่
หั
นมานั
บถื
อศาสนาพุ
ทธ และศาสนาคริ
สต์
ซึ่
งมี
ผลต่
อการ
เปลี่
ยนแปลงประเพณี
และพิ
ธี
กรรมดั้
งเดิ
มในเวลาต่
อมา