Page 72 - Culture1-2018
P. 72
๑ ๒
รู้ทันสถานการณ์
เมื่อคนต่างเชื้อชาติ ต่างศาสนา ต่าง
ภาษาและวัฒนธรรมอยู่ร่วมกัน เป็นสังคม
พหุวัฒนธรรมย่อมเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซึ่งกันและกัน มีการสื่อสารมากกว่าหนึ่งภาษา
ท�าให้ภาษาเหล่านี้มีอิทธิพลต่อกันและกัน
แทรกแซงกัน หรือยืมซึ่งกันและกัน เป็นการ
สัมผัสภาษาที่เกิดขึ้นในชุมชนผู้ที่พูดภาษา
ตากใบ (เจ๊ะเห) เช่นกัน มีการผสมผสานกับ
ภาษาที่อยู่แวดล้อม อาทิ ภาษามลายูถิ่น ภาษา
ไทยถิ่นใต้ และภาษาไทยมาตรฐานที่มากับ
ระบบการศึกษาและสื่อประเภทต่างๆ ท�าให้
ภาษาตากใบเพี้ยนไปจากเดิมบ้าง มีปนภาษา
อื่นบ้าง ค�าศัพท์บางค�าเลือนหายไปบ้าง คนรุ่น ๓
ใหม่จะใช้ค�าภาษาไทยมาตรฐานมากขึ้น เช่น
พู่น ใช้ โคม โลกกืจี๋น ใช้ พริก
กืหล�า, กึหล�า ใช้ ท้าด (ถาด) ล้อกเก๊าะแกแร็ต ใช้ บุหรี (บุหรี่)
กืหนี, กึหนี ใช้ กาน�้า โลกกึไต๋ซ็อก ใช้ ลูกต๋อด๋อง (สะตอดอง)
น�้าป๊าร้า ใช้ น�้าบูดู โลกน�้าเต้าปึง้าด ใช้ ลูกฟักทอง เป็นต้น
70