Page 73 - Culture1-2018
P. 73

๔





                                                                             ภาษาตากใบ หรือภาษาเจ๊ะเห มาจากชื่อเรียก
                                                                        อ�าเภอหรือต�าบล ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เรียกอ�าเภอนี้ว่า

                                                                        อ�าเภอเจ๊ะเหตามชื่อต�าบล ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น
                                                                        อ�าเภอตากใบ จึงท�าให้ภาษานี้มีการเรียกว่า ภาษา
                                                                        ตากใบ หรือ ภาษาเจ๊ะเห จนเท่าทุกวันนี้
                                                                             นอกจากนี้ เนื่องจากดินแดนตากใบเคยเป็นที่ตั้ง
                                                                        หัวเมืองมลายูมาก่อน และอยู่ใกล้ประเทศมาเลเซียที่
                                                                        ใช้ภาษามลายู จึงมีค�ายืมจากมลายูจ�านวนมาก เช่น

                                                                        โต๊ะบิดัน = หมอต�าแย ยาคง, รืคง = ข้าวโพด
                                                                        แตแหร, กืแหร  = มะม่วงหิมพานต์ โลกกึมู, โลกย้ามู
            ๕
                                                                        = ลูกชมพู่ ตีหมา, กึหมาเต๊าะ = ภาชนะท�าด้วย
                                                                        กาบหลาวชะโอนหรือกาบหมากใช้ตักน�้าจากบ่อ
           ๑. ๒. และ ๓. ความสวยงามของสิ่งก่อสร้างต่างๆ อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาวเมือง
           ตากใบ ผู้ใช้ภาษาไทยเจ๊ะเห ภายในวัดชลธาราสิงเห มีทั้ง หอระฆัง ศาลาการเปรียญ    กอตะ = กล่อง  เบ๊ะ = กระเป๋าย่าม ลาต้า = บ้าจี้
           และกุฏิเจ้าอาวาส                                             กอหรัง = ขาด ยาดี = ตกลง รุฆี = ขาดทุน
           ๔. และ ๕. ลาซัง หรือล้มซังข้าว ประเพณีท้องถิ่นของชาวนารูปแบบเฉพาะของชาวไทย   แบง็อง = งง ชื่อปลาทะเล เช่น ปลาสึหลากุหนิง, ซา
           ผู้ใช้ภาษาเจ๊ะเห เป็นพิธีกรรมที่แสดงความเคารพแด่เจ้าแม่โพสพ ตลอดจนเทพยดา
           สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ หลังจากการเก็บเกี่ยวเป็นผลส�าเร็จ      หลากุหนิง = ปลาข้างเหลือง ปลากึโหมง = ปลาทู


                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78