Page 77 - Culture1-2018
P. 77

ความเป็นมาของนายปี่หนังตะลุง






               เบื้องหลังการละเล่น การร้องร�าโนรา และการแสดงของ  รักและชอบปี่ ในช่วงที่เรียนปี่วงปี่พาทย์อยู่นั้นครูควนก็ได้เรียนปี่
           หนังตะลุง ศิลปะพื้นบ้านเป็นที่นิยมของชาวบ้านทางภาคใต้ มี  หนังตะลุงไปด้วย โดยการเรียนแบบ “ครูพักลักจ�า” จากนายปี่
           เสียงเครื่องดนตรีเป็นองค์ประกอบส�าคัญ กลอง ทับ โหม่ง ฉิ่ง  หนังตะลุงทั่วไป อายุ ๑๖ ปี จึงได้ออกโรงเป็นนายปี่หนังตะลุง
           และปี่ สอดรับประสานกัน สร้างความเพลิดเพลิน ความ      ตัวจริงเป็นครั้งแรกให้กับนายหนังเพียร เกาะสมุย (พ.ศ. ๒๔๙๗)
           สนุกสนานให้กับผู้ชมเบื้องหน้าเวที เสียงดนตรีประกอบการแสดง  เนื่องจากขณะนั้นคณะนายหนังเพียรเกิดขาดนายปี่ขึ้นมาอย่าง
           อาจเปรียบเทียบได้กับเครื่องปรุงรสชั้นยอดที่ขาดไม่ได้เมื่อปรุง  กะทันหัน ครูควน ได้ท�าหน้าที่แทนได้ดีเกินคาด จนได้รับการ

           อาหารอันเลิศรส ครูควน ทวนยก เป็นผู้ที่ได้ใช้ความสามารถ  ชมเชยและยอมรับของทุกคน ครูควน จึงได้เป็นนายปี่หนังตะลุง
           เล่นดนตรีพื้นบ้านทั้งหนังตะลุง และการละเล่นโนรา โดยเฉพาะ  เต็มตัวตั้งแต่นั้นมา
           ความถนัดทางด้านปี่ จนได้รับการเชิดชูเกียรติให้เป็น “พ่อครูปี่
           ภาคใต้”                                              จากนายปี่หนังตะลุง มาสู่นายปี่โนรา
               ควน ทวนยก หรือครูควน เกิดเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๔๘๒     ขณะที่ท�างานอยู่ที่ศูนย์เครื่องมือกล จังหวัดสงขลา พ.ศ.

           ที่อ�าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เมื่อวัยเด็กได้เริ่มศึกษาวิชา  ๒๕๐๑ ท่านได้ไปเป็นนายปี่ให้คณะหนังเจือพานยาว ในงาน
           ดนตรีไทยครั้งแรกกับคุณปู่ คือ นายตุด ทวนยก ซึ่งเป็นหัวหน้า  เดียวกัน คณะโนราเติม อ๋องเซ่ง มาเล่นที่จังหวัดสงขลา แต่ขาด
           วงและครูสอนปี่พาทย์อยู่ที่ต�าบลวัดขนุน จนอายุ ๑๒ ปี เกิด  นายปี่โนรากะทันหัน ท่านจึงได้เริ่มต้นการเป็นนายปี่โนราให้คณะ
           ความรู้สึกรักดนตรีเป็นชีวิตจิตใจ จึงเริ่มต้นเรียนระนาดเอกกับปู่  โนราเติม ต่อมา พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้มาเป็นนายปี่โนราให้กับโนรา
           ต่อมาได้เรียนระนาดทุ้ม ฆ้องวง กลองทัด ตะโพน พร้อมกันไปด้วย  กัลยา นาฏราช โดยการชักน�าและสนับสนุนจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ
           ฝึกเล่นอยู่ประมาณ ๒ ปี เมื่ออายุ ๑๔ ปี ได้เริ่มเรียนเป่าปี่   พระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฑัมพร ช่วงชีวิตการท�างาน ครูควนได้ใช้

           โดยปู่เป็นผู้สอนให้อีกเช่นกัน พอครูควนได้เป่าปี่เกิดความรู้สึก  ความสามารถด้านปี่รับจ้างเป็นนายปี่ให้คณะหนังและโนราทั่วไป













            ๑











            ๒                                    ๓

           ๑. เป่าปี่ประกอบการร�าโนรา หน้าพระที่นั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ สวนอัมพร กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๓๐
           ๒. ร่วมแสดงดนตรีประกอบการแสดงโนรา จ.สงขลา  ๓. เป่าปี่ประกอบการร�าโนราของขุนอุปถัมป์นรากร (พุ่ม เทวา) พ.ศ. ๒๕๒๐

                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  75
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82