Page 75 - Culture1-2018
P. 75
๓ ๔
๑. ศาลาริมน�้าหลังคาทรงไทย รูปแบบเฉพาะของวัดชลธาราสิงเห
๒. ๓. ๔. และ ๕. ประเพณีรับเจ้าเข้าเมือง งานประเพณีขึ้นปีใหม่ไทย
รูปแบบเฉพาะของชาวไทยผู้ใช้ภาษาเจ๊ะเหแทบทุกท้องถิ่น
เป็นประเพณีไทยดั้งเดิมซึ่งปรากฏในจดหมายเหตุวันวลิต ชาวฮอลันดา
ที่เข้ามาในกรุงศรีอยุธยาสมัยพระเจ้าปราสาททอง ซึ่งชุมชนชาวไทยที่นี่
ยังคงรักษารูปแบบไว้ได้อย่างเคร่งครัด
สืบสานและสงวนรักษา
จากสถานการณ์ภาษาที่เริ่มเปลี่ยนแปลง จึงท�าให้
หลายคนเป็นห่วง เกรงว่าจะภาษาจะเลือนหายไปจึงได้
ร่วมมือกันสืบค้น สืบสาน และสืบทอดภาษาตากใบให้
คงอยู่เป็นมรดกภูมิปัญญาของชาติ มีการจัดรายการภาษา ๕
ตากใบผ่านวิทยุท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่
ส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส สภาวัฒนธรรมอ�าเภอ
ตากใบ ชมรมอนุรักษ์ภาษาตากใบ โดยมีคณะกรรมการ เอกสารอ้างอิง
ที่มาจากคนหลายกลุ่มอายุรวมตัวกันเพื่อสงวนรักษาภาษา ครื่น มณีโชติ. ๒๕๕๖. “ภาษาตากใบ (เจ๊ะเห)”. มรดก
ตากใบ (เจ๊ะเห) มิให้สูญหาย นอกจากนี้กรมส่งเสริม ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: พิธีประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา
วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ยังได้ประกาศขึ้นทะเบียน ทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�าปีพุทธศักราช ๒๕๕๖. กรุงเทพฯ.
วิจิตร ศรีสุวิทธานนท์. ๒๕๒๓. หน่วยเสียงภาษาตากใบ. คณะวิชา
ภาษาตากใบ (เจ๊ะเห) เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. วิทยาลัยครูยะลา ส�านักงานวัฒนธรรม
ของชาติไทย สาขาภาษา เมื่อวันที่ ๓ กันยายน พุทธศักราช จังหวัดนราธิวาส และสภาวัฒนธรรมอ�าเภอตากใบ. สืบสานภาษาไทยถิ่น
๒๕๕๖ ประเภทภาษาท้องถิ่น ประจ�าปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ ใต้ ภาษาถิ่นเจ๊ะเห. มปป. http://www.southdeepoutlook.com/Show-
AllDetails/detail_south_editorial/93/ เข้าถึงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๑
น�าความภาคภูมิใจมาสู่ผู้ที่เป็นเจ้าของอย่างยิ่ง
มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ 73