Page 71 - Culture1-2018
P. 71

ประชาชนผู้ใช้ภาษาเจ๊ะเหนี้  ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีที่ส�าคัญ
                                                 ได้แก่ ประเพณีลาซังหรือล้มซัง เป็นประเพณีเฉลิมฉลองหลังการเก็บเกี่ยวของชาวนา
                                                 ประเพณีไหว้หน้าบ้าน เป็นประเพณีไหว้ท้าวเวสสุวัณหรือท้าวกุเวร จะจัดท�าพิธี
                                                 ประมาณเดือน ๙ ของทุกปี และประเพณีรับเจ้าเข้าเมือง เป็นประเพณีรับปีใหม่
                                                 จัดในวันแรม ๑ ค�่าเดือน ๕ ของทุกปี เพื่อรับเทวดามาปกปักรักษาบ้านเมือง

                                                 และคุ้มครองผู้คนให้อยู่เย็นเป็นสุข เป็นต้น

                                                 เรียนรู้ลักษณะภาษา
                              ๑. พระอุโบสถสวยงาม
                              ของวัดชลธาราสิงเห       วัฒนธรรมที่โดดเด่นชัดเจนคือภาษาพูด ภาษาตากใบเป็นภาษาตระกูลไท
                              ต�าบลเจ๊ะเห อ�าเภอ  มีค�าศัพท์และส�าเนียงเฉพาะของตน เช่น พยัญชนะต้นมี ๒๓ หน่วยเสียง ได้แก่
                              ตากใบ วัดอันเป็นเสมือน
                              ศูนย์กลางการประกอบ  /p, t, c, k, ʔ, ph, th, ch, kh, b, d, f, s, h, m, n, ɲ, ŋ, ʔ̃. w, j. r, l/
                              กิจกรรมหลากหลายของ  พยัญชนะสะกดมี ๗ หน่วยเสียง ได้แก่ /p, t, k, ʔ, m, n, ŋ/ เสียงวรรณยุกต์มี ๖
                              ชาวไทยผู้ใช้ภาษาไทย
                              เจ๊ะเห             หน่วยเสียง ได้แก่ เสียงต�่า-ระดับ-ขึ้น เสียงสูง-ระดับ เสียงต�่า-ระดับ เสียงกลาง
                                                 ระดับ-ขึ้น เสียงต�่า-ระดับ-ตก และเสียงกลาง-ขึ้น-ตก พยัญชนะควบกล�้า ได้แก่
                              ๒. ๓. และ ๔. กิจกรรม
                              รวมพลคนแหลงเจ๊ะเห    /กร กล กว คร คล คว สร ตร ทร บร บล ปร ปล พร พล มร มล/ เช่น บลัวะ
                              ทั้งคนสยามจากรัฐ   = แทง มฺลื่น = ลื่น เมฺลือง = วาวเป็นมัน แมฺลบ = ฟ้าแลบ สระเดี่ยว ได้แก่ ◌ะ
                              กลันตัน มาเลเซีย จาก
                              ปัตตานี ยะลา มารวมกัน  ◌า ◌ิ ◌ี ◌ึ ◌ื  ◌ุ ◌ู เ◌ะ เ◌ แ◌ะ แ◌ โ◌ะ โ◌ เ◌าะ ◌อ เ-◌อะ เ◌อ และ
                              ที่วัดชลธาราสิงเห มีการ  สระประสม ได้แก่ เ◌ียะ เ◌ีย เ◌ือะ เ◌ือ ◌ัวะ ◌ัว
                              เสวนา รับประทานอาหาร
                              แลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม      ภาษาตากใบมีหลายค�าที่ต่างจากภาษาถิ่นใต้ทั่วไป เช่น ลูกพุน = กะละมัง
                              และช่วงเช้า มีการท�าบุญ  ดอย = ตาย กะด๊อก, กึด๊อก = ว่างเปล่า อั๋งกะปั๋ง, อั๋งกึปั๋ง = คิดอะไรไม่ออก
                              ใส่บาตร ตลอดจนออก
                              ไปท่องเที่ยวในแหล่ง   ผ้าปล่อย หรือ ผ้ารัดกืพัด = ผ้าขาวม้า ผ้ามิ่นป้อ = ผ้าเช็ดหน้า โลกกะจี๋น,
                              ท่องเที่ยวส�าคัญร่วมกัน  โลกกึจี๋น = พริกขี้หนู กล้วยหลา = มะละกอ เชียกเอ๋ว = เข็มขัด
                                                 ไฟบี๊บ = ไฟฉาย เป็นต้น

                                                                                     นอกจากนี้สังเกตพบว่าในภาษา

                                                                              ตากใบ (เจ๊ะเห) มีการใช้และเติมพยางค์หน้า
                                                                              (prefix) ต่างจากภาษาถิ่นใต้ทั่วไป และ
                                                                              พยางค์ที่เติมนี้ จะเป็นส�าเนียงที่บ่งบอกว่าผู้พูด
                                                                              อยู่ในท้องถิ่นใดเช่น  กะ กึ กื ยะ ยึ  ยือ สะ
                                                                              สึ ซื ตะ ตึ ตื ปะ ปิ ปึ ปื เช่น กระบอก ใช้
                                                                              กะบ๊อก กึบ๊อกปุ๋ย ใช้ กึยา บืยา พึยา พืยา

                                                                              มะยา สะพาน ใช้ ตะพาน ตึพาน สึพาน
                                                                              ตืพาน สวรรค์ ใช้ กืหวัน สึหวัน ซืหวัน เป็นต้น
                                                                              และค�าบางค�าแม้เติมพยางค์หน้า ก็ไม่ท�าให้
                                                                              ความหมายเปลี่ยนไป เช่น ยาม (เวลา) ใช้

                                                                              กึย๋าม ปีย๋าม ปีย๋าม ด่วน ใช้ กะด๊วน กึด๊วน
                                                                              กืด๊วน เป็นต้น
      ๔

                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  69
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76