Page 97 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 97
เราเดินส�ารวจลึกเข้าไปด้านในของอู่ ซึ่งเป็นส่วนของงานไม้ ทุกวันนี้ตามจังหวัดใหญ่ ๆ ที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าวยังมีผู้ผลิต
ส�าหรับกระบะบรรทุกหลังตัวรถ รับผิดชอบโดยช่างไม้เพียงหนึ่งคน รถอีแต๋นอยู่หลายราย แต่ละรายก็มีเทคโนโลยีมีความช�านาญแตกต่าง
หากจะหาความเชื่อมโยงของอดีตพาหนะจากเกวียนสู่รถอีแต๋น กันไป บางที่ท�าเป็นอีแต๋นซิ่ง โดยน�าช่วงล่างของรถกระบะมาปรับ
ช่างไม้ดูเหมือนจะเป็นความเชื่อมโยงที่จับต้องได้มากที่สุด ท�าเป็นรถอีแต๋นก็มี แต่ส�าหรับอู่ของประทีปนับได้ว่าเป็นสายอนุรักษ์
เสียงกบไสไม้ไฟฟ้าดังกังวานอยู่ทั่วพื้นที่ ช่างไม้ก�าลังมีสมาธิ ชอบความประณีต ชอบความดั้งเดิม งานทุกชิ้นคิดค้นด้วยตัวเอง
จดจ่ออยู่กับงานเบื้องหน้า ไม้ที่ถูกไสอย่างประณีตจะติดตั้งอยู่ ลงมือท�าด้วยฝีมือของช่างในทีมงานอย่างตั้งใจ
ด้านหลังทั้งในส่วนของตัวพื้นและด้านข้าง ช่างบอกว่า “ใช้ไม้นี่ทน
ที่สุดแล้ว ทนแล้วก็ยังสวยงำมด้วย” ไม้เนื้อแข็ง (เช่น ไม้มะค่า ไม้แดง) เราเชื่อว่าช่างทุกคนในทีมงานของประทีปการช่างไม่ได้คิด
ถูกไสอย่างดี ตัดให้ได้ขนาด ผ่านกระบวนการลงน�้ายาเคลือบเนื้อไม้ ว่าตนเองก�าลังท�างานศิลปะชิ้นหนึ่งอยู่ ทุกคนเพียงแต่ใส่หัวใจลงไป
ตากจนแห้ง จากนั้นจึงน�าไปติดตั้งเป็นโครงกระบะท้าย เมื่อท�าเสร็จ ในชิ้นงาน และท�าให้ดีที่สุดสมกับที่เจ้าของรถอีแต๋นเชื่อใจมอบหมาย
ใหม่ ๆ เนื้อไม้ที่ถูกเคลือบจะเป็นสีน�้าตาลเข้มขึ้นเงาสวยงาม ครั้น ให้ลงมือสร้างขึ้น เมื่ออีแต๋นหนึ่งคันเสร็จสมบูรณ์ มันจึงเต็มไปด้วย
พอใช้งานไปนานวัน ลุยฝนลุยแดดสีจะค่อย ๆ ซีดจาง ก็จะสวย ความภาคภูมิใจ ส�าหรับเรารถอีแต๋นคืองานศิลปหัตถกรรมเชิงช่าง
ไปอีกแบบ ที่หนองบัวส่วนใหญ่จะมีลวดลายเฉพาะบริเวณหัวเก๋ง พื้นบ้านชิ้นหนึ่ง ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยอัตลักษณ์ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิต
ในส่วนกระบะด้านท้ายจะปล่อยโชว์เนื้อไม้ ท้องถิ่นไทยที่ผูกพันกับท้องทุ่งกสิกรรมอย่างแนบแน่น
๔
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 95