Page 95 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 95

๒                                                     ๔

                                                                 ภาพ ๑-๔ รถอีแต๋นที่สร้างด้วยมือกันทั้งคันอย่างประณีตและประดิดประดอย
                                                                 โดยเฉพาะตัวถังส่วนใบหน้าที่ต้องเคาะขึ้นรูป โป้วแต่งทรวดทรง ท�าสี ติดคิ้ว
                                                                 เพิ่มลวดลาย นับเป็นงานที่ต้องอาศัยช่างที่มีฝีมือ








             ๓                                                      อีโกง อีแตก และอีแตน

                                                                      “อีโก่ง” หรือ “อีโก้ง” เป็นชื่อเรียกตามลักษณะเด่นของรถ
                                                                    ไถนาเดินตามที่มีคันบังคับยาวและโก่งงอลงถึงมือคนบังคับขับไถ
            งำนแบบนี้ใช้เวลำมำก แบบที่ผมท�ำนี่ไม่ค่อยมีใครท�ำ” ประทีปกล่าว   เมื่อน�ารถอีโก่งมาพ่วงท้ายลากเกวียนแล่นไปมาจากบ้านสู่ไร่นา
            เราดูชิ้นงานที่อยู่ตรงหน้า เป็นส่วนของฝากระโปรงที่มีทั้งงานเชื่อม   จะได้ยินเครื่องยนต์ส่งเสียง แต๊ก ๆ ๆ มาแต่ไกล จึงพากันเรียกรถ
            งานขัด งานเคาะ ซึ่งเป็นชิ้นส่วนที่ใช้เวลาในการท�างานนานมาก    ไถนาพ่วงเกวียนว่า “อีแต๊ก” หรือ “อีตั๊ก”
            ตัวชิ้นงานแสดงให้เห็นถึงความละเอียดและความตั้งใจ งานดัดเหล็ก  กระทั่งมีการพัฒนารถเกษตรฝีมือพื้นบ้านไปจนถึงขั้นมี
            ด้วยมือให้ได้รูปทรงที่ต้องการจึงไม่ใช่เรื่องง่าย ไม่น่าแปลกใจที่ผู้  โครงสร้างคล้ายรถยนต์ไม่ใช่รถพ่วง มีพวงมาลัย ระบบเบรก ระบบ
            สร้างสรรค์งานจะแสดงออกถึงความภาคภูมิใจเมื่อได้อธิบายและ   เกียร์ มีหลังคา และสีสันสวยงาม สามารถแล่นด้วยความเร็วมาก
            อวดโฉมชิ้นงาน “เป็นควำมชอบส่วนตัวผมด้วย ผมชอบงำนที่สร้ำง  ขึ้น ด้วยความเลิศเลอกว่าใครในท้องทุ่งยุคแรก ซึ่งพ้องกับค�าว่า

            ด้วยมือ” เช่นนี้แล้วงานสร้างเกวียนในอดีตกับปัจจุบันที่สร้างอีแต๋น    “สะแหล๋นแต๋น” อันเป็นค�าที่มีความหมายว่า เลิศเลอ ในสมัยนั้น
            แตกต่างด้วยวัสดุที่น�ามาใช้ คือ ไม้และเหล็ก แตกต่างด้วยเครื่องมือ   จึงเป็นที่มาของนาม “อีแต๋น”
            และเทคนิคในการท�างานที่ยุคปัจจุบันมีความซับซ้อนมากกว่า ทว่า  รถอีแต๋นสามารถขับขี่บนท้องถนนเช่นเดียวกับรถยนต์ประเภท
            เมื่อช่างทั้งสองยุคลงมือท�างานสร้างสรรค์พาหนะเพื่อการเกษตร สิ่งที่  อื่น ๆ ได้โดยจดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบกและเสียภาษี
            ถูกถ่ายทอดลงสู่ชิ้นงานคือความตั้งใจความละเอียดลออในการท�างาน   ประจ�าปี ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๒๕ ออกตามความ
            ราวกับว่านี่คืองานหัตถกรรมหัตถศิลป์ชิ้นหนึ่ง            ในพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ว่าต้องใช้เครื่องยนต์ที่มิได้
                  เราพยายามจินตนาการถึงการพัฒนาการต่อยอด แรกเริ่ม   ใช้ส�าหรับรถยนต์โดยเฉพาะมาติดตั้ง น�้าหนักตัวรถไม่เกิน ๑,๖๐๐
            เดิมทีเครื่องยนต์ขนาดเล็กที่น�าเข้ามาสู่แวดวงเกษตร เริ่มจากเป็น  กิโลกรัม เครื่องยนต์ต้องมีความจุในกระบอกสูบรวมกันไม่เกิน
            รถไถเดินตามซึ่งนับได้ว่าเป็นต้นทางของการพัฒนาไปสู่รถเพื่อการ   ๑,๒๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ความกว้างตัวรถไม่เกิน ๒ เมตร และ
            เกษตรรูปแบบอื่น ๆ เพื่อสะดวกต่อการใช้งานที่นอกเหนือไปจากการ   ความยาวไม่เกิน ๖ เมตร มีลักษณะเป็นรถสี่ล้อหรือรถสามล้อก็ได้
            ไถนา จนท้ายที่สุดกลายเป็นรถอีแต๋น หรือรถบรรทุกขนาดเล็กที่มี   มีระบบไฟฟ้า ได้แก่ ไฟหน้า ไฟท้าย ไฟเลี้ยว แตรที่ดังพอสมควร
            ลักษณะเฉพาะตัวมีความเป็นท้องถิ่นด้วยชั้นเชิงช่างพื้นบ้านไทย  และมีกระจกมองข้างเช่นเดียวกับรถประเภทอื่น ๆ



                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    93
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100