Page 94 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 94
เราออกเดินทางไปยังจังหวัดนครสวรรค์แหล่งปลูกข้าวที่ ประทีปเล่าถึงความผูกพันกับรถอีแต๋นว่า มีมาตั้งแต่
ส�าคัญแห่งหนึ่งของประเทศ เพื่อไปพบกับผู้สร้างสรรค์รถอีแต๋น เยาว์วัยแล้ว “ตั้งแต่จ�ำควำมได้ผมก็เห็นรถอีแต๋นแล้ว”
รายหนึ่ง คือ ประทีป เขียวปั้น เมื่อล่วงเข้าสู่เขตนครสวรรค์ใน แม้ว่าจะไม่ได้เริ่มอาชีพแรกกับการสร้างรถอีแต๋น แต่งาน
ช่วงเดือนแปดทุ่งนาสองข้างทางถนนเขียวชอุ่ม พอเข้าเขตอ�าเภอ ช่างฟิตในโรงกลึงที่ท�าสมัยเข้ามาหาประสบการณ์ในเมืองกรุง
หนองบัวเราก็พบรถอีแต๋นวิ่งสวนไปหลายคัน กล่าวได้ว่าหนองบัว ก็เป็นพื้นฐานส�าคัญส�าหรับการลงมือออกแบบสร้างรถอีแต๋นด้วย
นับเป็นอ�าเภอหนึ่งที่มีประชากรรถอีแต๋นอยู่มาก ตัวเองในเวลาต่อมา
ประทีป เขียวปั้น เจ้าของอู่ประทีปริมถนนสายรองไม่ห่าง เมื่อหวนกลับบ้านเกิด ประทีปก็เริ่มงานสร้าง “สมัยแรก
จากตัวอ�าเภอเมืองมากนัก เดินออกมาทักทายเมื่อเรามาถึง อู่ขนาด ที่ท�ำคันมันไม่ได้ใหญ่ขนำดนี้นะ น�้ำหนักบรรทุกตอนนั้นแค่ ๓ ตัน
กลางแห่งนี้มองผ่าน ๆ ด้วยสายตาเห็นได้ว่ามีเครื่องไม้เครื่องมือ แต่ทุกวันนี้ ๔ ตัน” ในสมัยแรกเริ่มประทีปยังไม่ได้ท�าเองทุกอย่าง
ครบทุกอย่าง มีงานบางส่วนที่ส่งไปให้ช่างคนอื่นท�า ต่อมาเมื่องานเริ่มมากขึ้น
มองดูรถอีแต๋นคันหนึ่งที่ก�าลังอยู่ในระหว่างขั้นตอนเก็บงาน และได้รับความเชื่อถือในคุณภาพของงานผลิต จึงเปิดรับช่างเข้ามา
โป้วสีตัวถัง ช่างก�าลังท�างานอย่างตั้งใจ ในโรงงานนี้มีช่างหลัก ๆ ร่วมท�างานด้วยกันและค่อย ๆ ขยับขยายจนทุกวันนี้ทุกขั้นตอน
อยู่เพียงสี่คนเท่านั้น ประทีปเล่าให้ฟังว่า “เป็นงำนที่ค่อย ๆ ท�ำ การท�าจบที่อู่ของตนเองได้หมด
เพรำะเรำตั้งใจจะให้ออกมำดูดีสมบูรณ์ที่สุด ที่นี่ทุกอย่ำงเรียกได้ว่ำ งานสร้างรถอีแต๋นของประทีปถือเป็นงานช่างที่ท�าอย่างใส่ใจ
เป็นงำนมือเกือบทั้งหมด” งานประกอบแต่ละส่วนเป็นงานมือทั้งหมด “ที่นี่เป็นออริจินัลทั้งหมดนะ
๑
92