Page 96 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 96

๑













                                                             ๓

                                                              ภาพ ๑ รถอีแต๊กยังคงความเป็นเกวียนแตกต่างจากรถอีแต๋น
                                                              ภาพ ๒ รถอีแต๋นสามารถแล่นลงถึงตลิ่งแม่น�้า เพื่อรับผลิตผลการเกษตรจากเรือ
                                                              ภาพ ๓ รถอีแต๋นมีองค์ประกอบได้มาตรฐานให้แล่นไปมาบนท้องถนนหลวงอย่าง
                                                              ถูกต้องตามกฎหมาย
                                                              ภาพ ๔ เจ้าของรถอีแต๋นทุกคันมีความภูมิใจในความงามของรถคู่ใจซึ่งทนทานกับ
                                                              งานหนักเสมอ





                                                              ของตนอย่างตั้งใจ แม้ส่วนหนึ่งจะเป็นการท�ามาหาเลี้ยงชีพ แต่อีก
                                                              ด้านหนึ่งก็เป็นเสมือนศิลปินที่ตั้งใจจดจ่ออยู่กับงาน เพราะที่อู่ของ
        ๒                                                     ประทีปไม่ได้ด�าเนินการเป็นรูปแบบอุตสาหกรรมเต็มตัว ที่นี่เป็นเสมือน

                                                              โรงฝีมือของช่างแขนงต่าง ๆ ที่มารวมตัวกันสร้างสรรค์งาน ประทีป
                                                              บอกว่าตลอดทั้งปีก�าลังการผลิตที่นี่ท�าได้เพียงแค่สี่คันเท่านั้น

               โครงรถหรือแชสซีย์เป็นโครงเหล็ก ด้านหน้าบรรจุเครื่องยนต์  งานสร้างรถอีแต๋นที่นี่ไม่ได้ใช้เครื่องไม้เครื่องมือที่ทันสมัยมาก
          และเป็นห้องโดยสาร ส่วนด้านหลังเป็นกระบะบรรทุก สร้างขึ้นด้วย ส่วนใหญ่แล้วเป็นงานที่ท�าด้วยความช�านาญและความใส่ใจ แต่ละคัน
          ไม้เนื้อแข็งอย่างดี ด้านหน้าตัวรถหรือบริเวณหัวเก๋งและด้านข้าง  ที่เสร็จออกไปจึงมีเอกลักษณ์ประจ�าตัว “เวลำงำนมันผิดไปนิดหน่อย
          ตกแต่งด้วยลวดลายแบบไทยประยุกต์ เราจึงเรียกรถอีแต๋นได้อย่าง นี่ลูกค้ำเขำอำจจะไม่รู้ แต่เรำที่เป็นคนลงมือท�ำนี่เรำจะรู้ เพรำะ
          เต็มปากว่ารถบรรทุกไทยประดิษฐ์                       ฉะนั้นเรำจะไม่ท�ำเด็ดขำด เรำจะต้องท�ำมันออกมำให้สมบูรณ์แบบ
               เราถามประทีปว่างานหลักในกระบวนการสร้างรถอีแต๋น  ที่สุด” ประทีปกล่าว
          มีอะไรบ้าง “รถอีแต๋นคันหนึ่งจะมีงำนเชื่อมเหล็ก งำนสี งำนเพ้นต์  ส�าหรับรถในรูปแบบหนองบัวของช่างประทีปนั้น เป็นแบบ
          งำนเครื่องยนต์ ไฟฟ้ำ แล้วก็งำนไม้ หลัก ๆ ก็เป็นพวกนี้” ช่างที่ท�างาน หัวเก๋งหน้ายาว ละม้ายกับรถบรรทุกขนาดใหญ่ในอดีต รถอีแต๋น
          อยู่ในกระบวนการทั้งหมดมีความเชี่ยวชาญในงานเชิงช่างของตนเอง  คันหนึ่งในส่วนตัวโครงสร้างเมื่อเสร็จจากอู่ออกไปวิ่งใช้งานแล้ว
          ประทีปเป็นคนดูภาพรวมและรับผิดชอบในส่วนของเครื่องยนต์กลไก  แทบไม่เคยต้องกลับมาซ่อมแซมเลย ที่ต้องท�าส่วนมากเป็นเรื่อง
          งานไฟฟ้า ลูกชายของประทีปดูในส่วนของงานเชื่อม มีช่างสีคนหนึ่ง  เครื่องยนต์ซึ่งเป็นไปตามอายุการใช้งาน แสดงให้เห็นถึงงานเชิงช่าง
          และช่างไม้อีกคนหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงมือท�างานแล้วทุกคนต่างท�างาน  ที่มีคุณภาพของประทีป



          94
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101