Page 91 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 91
๓ ๔
ภาพ ๑ ตึกอ�านวยกลาง (ตึกกลาง) อีกหนึ่งสัญลักษณ์ของวิทยาลัยเพาะช่าง เป็นผลงานการออกแบบของอาจารย์จิตร ภาพ ๒ ส่วนหนึ่งของผลงานวิชาการทางด้าน
ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีที่อาจารย์จิตรศึกษาวิจัยและเขียนเป็นหนังสือเผยแพร่ ภาพ ๓ ภาพเขียนสีน�้ามันแนวอิมเพรสชันนิสม์ขณะอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่นในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ ๒ ภาพ ๔ อาจารย์จิตรยังคงเขียนรูปอย่างสม�่าเสมอแม้มือจะสั่นจากวัยแต่ก็ไม่เป็นอุปสรรค
นอกจากนี้ครูจิตรยังมีผลงานทางด้านประติมากรรมและ กล่าวได้ว่านอกจากท่านจะเป็นศิลปินผู้มีผลงานศิลปะ
สถาปัตยกรรม ตลอดจนการศึกษาวิจัยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ ที่เต็มเปี่ยมด้วยพลังศิลป์แล้ว ท่านยังเป็นนักวิชาการ สถาปนิก
ทั้งในและต่างประเทศกว่า ๑๒ เรื่อง ด้วยการน�าวิชาความรู้ และนักประวัติศาสตร์คนส�าคัญของไทย
ด้านจิตรกรรมลายเส้นที่ย่อส่วนจากของจริงมาใช้ประโยชน์
ในการศึกษาวิจัยงานด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประติมากรรม ครูจิตรจากไปอย่างสงบเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
และสถาปัตยกรรม บูรณาการในแต่ละสาขาวิชาได้เป็นอย่างดี สิริรวมอายุ ๙๙ ปี ๘ เดือน ๑๔ วัน แต่ผลงานและค�าสอนของท่าน
จนได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นราชบัณฑิต สาขาศิลปกรรม ก็ยังคงอยู่ตราบจนทุกวันนี้
และเป็นศาสตราจารย์ (พิเศษ) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
รวมทั้งได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน บรรณานุกรม
วัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ นับเป็นผู้สร้างสรรค์ - ร�าลึก ๑๐๐ ปี ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ประกิต (จิตร) บัวบุศย์
สืบสาน พัฒนา อนุรักษ์และเผยแพร่ที่มีค่ายิ่ง และที่ส�าคัญ ราชบัณฑิต ศิลปินแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : บริษัทกรังปรีซ์
ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ประกิต (จิตร) บัวบุศย์ ได้รับการยกย่อง อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด, ๒๕๕๔.
เชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) - ศรัณย์ ทองปาน. “ประกิต (จิตร) บัวบุศย์ ชีวิตคือการรับใช้.”
เมืองโบราณ. ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๔๒)
ประจ�าปีพุทธศักราช ๒๕๔๕ หน้า ๕๐-๖๓.
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 89