Page 90 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 90
มากมาย สร้างชื่อเสียงแก่โรงเรียนเป็นอันมาก กล่าวได้ว่าในยุคนั้นหาก ท่านเขียนต�าราไว้เล่มหนึ่งน�าเสนอแง่มุมประวัติศาสตร์ศิลป์
พูดถึงศิลปะ ศูนย์กลางความสนใจของผู้คนจะอยู่ที่โรงเรียนเพาะช่าง ของไทย โดยยึดโยงกันระหว่างศาสนาพุทธและศิลปกรรมของ
ที่พ่อแม่ผู้ปกครองมักส่งลูกไปเรียนตามค�าแนะน�าของครูศิลปะ อินเดีย ท่านใช้ค�าว่า คลื่นทางพุทธศาสนาและศิลปะจากอินเดีย
และงานช่างที่สอนอยู่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ นั่น ได้เคลื่อนที่ผ่านสุวรรณภูมิเป็น ๔ ระลอก ชาวสยามหรือชาวไทย
หมายความว่า ครูจิตร หรืออาจารย์จิตร บัวบุศย์ ได้สร้างรากฐาน ก็ได้อิทธิพลจากคลื่นทั้ง ๔ นั้น ตั้งแต่สมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ความเชี่ยวชาญด้านศิลปะและงานช่างที่โรงเรียนเพาะช่างไว้อย่าง เชียงแสน สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ จากผลงานวิชาการ
มั่นคงตราบจนปัจจุบัน ดังกล่าว รวมกับผลงานที่ผ่านมาแล้วทั้งหมด ท่านจึงได้รับโปรดเกล้าฯ
ในด้านวิชาการ ครูจิตรเขียนต�าราเกี่ยวกับโบราณคดีและ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต สาขาวิจิตรศิลป์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔
ประวัติศาสตร์ศิลปะไว้หลายเล่ม น�าเสนอความคิดใหม่ ๆ ไว้อย่าง ครูจิตรเป็นศิลปินที่มีบทบาทส�าคัญต่อการวางรากฐาน
น่าสนใจ โดยเรียบเรียงจากประสบการณ์ตรงที่ได้ศึกษาค้นคว้า จิตรกรรมสมัยใหม่ในยุคแรกของไทยที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
ทั้งภาคทฤษฎีและภาคสนาม ส�าหรับผลงานด้านวิชาการประวัติศาสตร์ และวิชาการตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๗๐ ปี โดยเฉพาะ
ไทย และประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย รวมทั้งงานวิจัย งานด้านจิตรกรรม นับเป็นจิตรกรแนวอิมเพรสชันนิสม์ที่ยิ่งใหญ่
ด้านวัฒนธรรมที่ได้รับทุนวิจัยจากรัฐบาลออสเตรเลีย ค้นคว้าวิจัย ของประเทศไทยผู้หนึ่งที่มีความช�านาญ สามารถถ่ายทอดอารมณ์
เรื่องการเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและการอพยพเคลื่อนย้ายของ ความรู้สึกประทับใจได้อย่างนุ่มนวลงดงามในเรื่องการใช้สีที่ประสาน
มนุษยชาติผ่านแหลมทอง โดยอาศัยหลักฐานจากแหล่งวรรณกรรม กลมกลืน สร้างบรรยากาศแสงเงาที่ร่มรื่น สดใส ไม่ว่าจะเป็นการพลิ้วไหว
และศิลปกรรม ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงยุคประวัติศาสตร์ไทย ของแสง อากาศ น�้า ต้นไม้ใบหญ้า ด้วยกลวิธีระบายสีด้วยเกรียง
ท่านได้น�าเสนอข้อมูลเชิงเปรียบเทียบได้อย่างแยบคาย กระทั่ง ที่ปาดอย่างช�านาญ อิสระ ฉับพลัน เปี่ยมด้วยพลังความรู้สึกที่ต้องการ
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช และนักประวัติศาสตร์ยุคใหม่ ยกย่องว่า แสดงออกในขณะนั้น ผสานกับกลวิธีระบายสีที่หลากหลาย โดยท่าน
เป็นความกล้าหาญทางวิชาการที่หายากในเมืองไทย จัดแสดงผลงานเดี่ยวและกลุ่มอยู่หลายครั้ง
๑ ๒
88