Page 89 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 89
๓ ๔
๕ ๖
เครื่องทอย้อมสี บาติก ภาพแกะไม้ หรือเครื่องปั้นดินเผา รวมถึง ในช่วงสงคราม โดยท�าตั้งแต่งานวางผัง ออกแบบอาคาร จนถึง
ออกเดินทางไปวาดรูปตามชนบท ตลอดระยะเวลา ๖ ปีที่ครูจิตร การจัดภูมิทัศน์ ในที่สุดตึกเรียนของโรงเรียนเพาะช่างได้กลายเป็น
ใช้ชีวิตนักศึกษาปริญญาโทและศึกษาดูงานต่อในประเทศญี่ปุ่นนั้น ต้นทางให้กับอาคาร “ทรงไทยประยุกต์” ของอาคารกระทรวง
ได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ หล่อหลอมแนวความคิด และมุมมอง ทั้งหมดที่ตั้งบนถนนราชด�าเนิน และตึกศาลาว่าการจังหวัดทั่ว
การใช้ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านมีโอกาสได้ซึมซับแนวทางอิมเพรส- ประเทศไทย
ชันนิสม์ที่สนใจอยู่ก่อนแล้วได้มากยิ่งขึ้น กระทั่งส�าเร็จการศึกษา ต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๙ ครูจิตรได้ด�ารงต�าแหน่งอาจารย์ใหญ่
ทางด้านจิตรกรรม Hon Post Graduate Course of Oil Painting โรงเรียนเพาะช่าง ได้ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนศิลปะ
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ และด้านประติมากรรม Hon Post Graduate และงานช่างให้ทันสมัย โดยน�าเอาศิลปะหลักวิชา (Academy)
Course of Sculpture ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ตามแบบสากลเข้ามาใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอนศิลปะและ
หลังจากนั้นครูจิตรได้กลับมารับราชการที่โรงเรียนเพาะช่าง หัตถกรรม ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โรงเรียนเพาะช่างได้
และเริ่มออกแบบตึกเรียนใหม่ทั้งหมดแทนของเดิมที่ถูกระเบิด ผลิตครูช่างและช่างฝีมือด้านหัตถกรรมป้อนโรงเรียนและภาคธุรกิจ
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 87