Page 71 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 71
๓
ท�ากินและสร้างชุมชนในป่าจึงต้องมีการขออนุญาต ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นไปตามกฎแห่งโลก แต่ก็มิอาจปฏิเสธได้ว่า
จากผีเจ้าป่าเขาเสียก่อน และต้องท�าไปเพื่อเพียงพอ แก่นแท้ของดอนปู่ตาคือการอนุรักษ์ทรัพยากรผืนป่า โดยอาศัยความนับถือและ
แก่การยังชีพเท่านั้น ด้วยความเชื่อในเรื่องศักดิ์สิทธิ์ เกรงกลัวต่ออ�านาจลี้ลับของผีปู่ตาในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ประจ�าหมู่บ้าน ฉะนั้นการคงอยู่
หรือผีที่คอยคุ้มครองดูแลรักษาป่าเขา ก่อรูปเป็นระบบ ของศาลปู่ตาย่อมหมายถึงการคงอยู่ของพื้นที่ป่าชุมชนในภาคอีสาน
การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างคนกับป่าที่แสดงออกมา
ในรูปของพิธีกรรมและความเชื่อต่าง ๆ” บรรณานุกรม
(พิมล มองจันทร์, https://www.gotoknow.org/posts/234389) - บุญยงค์ เกศเทศ “ดอนปู่ตา : ป่าวัฒนธรรมอีสาน” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2542/writing-01.html
อย่างไรก็ตามความเชื่อเรื่องผีปู่ตาก็แปรเปลี่ยนไป สืบค้น สิงหาคม ๒๕๖๐.
ตามยุคสมัยดังที่พะขะจ�้า สนสิน ชาวนาราช เล่าให้ฟัง - บุญยงค์ เกศเทศ “สถาบันป่าดอนปู่ตาและบทบาทพฤติกรรมของเฒ่าจ�้า
ในชุมชนอีสาน” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ว่า “เทศกาลปีใหม่สงกรานต์ก็เอาหัวหมู เหล้ายา [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.thaiscience.info/journals/Article/
ข้าวต้มขนมนมเนยมาเซ่นไหว้ ก่อนท�านาก็มาไหว้ NRCT/10440277.pdf สืบค้น สิงหาคม ๒๕๖๐.
มาไหว้ขอหวย คนอยู่ต่างประเทศฝันไม่ดีก็ส่งเงินให้ - พิมล มองจันทร์ “ป่าดอนปู่ตา” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.
ทางบ้านมาเซ่นไหว้มาบน ที่นี่มีคนมาเลี้ยงตลอดทั้ง gotoknow.org/posts/234389 สืบค้น สิงหาคม ๒๕๖๐.
เจ้ามือหวยและคนเล่นหวย”