Page 75 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 75

๓





                                                                                      ๑
            และลูกดอกอาบยาพิษ การรู้จักสรรพคุณต่าง ๆ ของพืช ความรู้เรื่อง   ระบบเสียงภาษามานิ  อ�าเภอควนโดน จังหวัดสตูล มีหน่วย
            นิสัยสัญชาตญาณและธรรมชาติของสัตว์ประเภทต่าง ๆ รวมทั้ง  เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว ๒๒ หน่วยเสียง ได้แก่ ก (k) กฺ (g) ค (kh)
            ความรู้ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับป่า การใช้ชีวิตในป่า สิ่งเหล่านี้เป็นทั้ง ฆ (Ɣ) ง (ŋ) จ (c) ช (ch) ฌ (ɕ) ญ (ɲ) ด (d) ต (t) ท (th) น (n)
            ภูมิปัญญาและทักษะในการด�ารงชีวิตเพื่อการอยู่รอดโดยพึ่งพา  บ (b) ป (p) พ (w) ม (m) ย (j) ล (l) ว (w) อ (ʔ) ฮ (h) เช่น

            ระบบนิเวศภายในป่า เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน  บูวะ = ลม ปะลิก = ค้างคาว ตัมบัง = หน่อไม้ หน่วยเสียงพยัญชนะ
            ของตน ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค   ควบกล�้าที่ปรากฏในภาษามานิมี ๔ หน่วยเสียง ได้แก่ กล (kl)
            อันเป็นวัฒนธรรมที่ตกทอดมานับหมื่นปี และเป็นกลุ่มวัฒนธรรม  คว (khw) บล (bl) ปล (pl) ภาษามานิมีพยัญชนะท้ายที่แสดง
            ในประเทศไทยที่ปัจจุบันยังคงรูปแบบวัฒนธรรมแบบนี้ไว้ได้  ลักษณะของภาษากลุ่มมอญ-เขมรที่ชัดเจน กล่าวคือ มีจ�านวน
                                                                 เสียงพยัญชนะสะกดมากถึง ๑๓ หน่วยเสียง ได้แก่ ก (k) ง (ŋ)
                            เรียนรูภาษามานิ                     จ (c) ฌ (ɕ) ญ (ɲ) ด (t) น (n) บ (p) ม (m) ย (j) ว (w) อ (ʔ)

                                                                 ฮ (h) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้พยัญชนะสะกด จ (c) ฌ (ɕ)
                  ภาษามานิ เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขา  ญ (ɲ) และ ฮ (h) ตัวอย่างเช่น บาจ = ขุด เอเยฌ = รากแก้ว
            มอญ-เขมร กลุ่มย่อยอัสเลียน ภาษาในกลุ่มย่อยเดียวกันที่มีความ  ฮาญ = ปาก ละแบะฮ = ปล้อง (ไม้ไผ่) มอฮ = จมูก
            ใกล้เคียง ได้แก่ ภาษากันซิว ในจังหวัดยะลา ภาษาแต๊นแอ๊น
            ในจังหวัดตรัง สตูล และพัทลุง                         ๑ ระบบเสียงที่น�าเสนอในที่นี้ ศึกษาจากงานของ มณีรัตน์ โชติกก�าธร และคณะ
                                                                 (๒๕๓๗) และผู้เขียนได้เทียบเคียงกับอักษรไทยที่มีเสียงใกล้เคียงเพื่อให้ผู้อ่าน
                                                                 เข้าใจยิ่งขึ้น


                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    73
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80