Page 66 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 66
๑ ๒
ภาพ ๑ ศาลปู่ตามีความหมายรวมถึงปู่ย่าตายายหรือบรรพชนของชุมชน
ภาพ ๒ พ่อใหญ่จ�้าศึกแห่งบ้านโพนก�าลังท�าพิธีส่งสารจากชาวบ้านถึงผีปู่ตาในการแก้บน
ภาพ ๓ ศาลเจ้าปู่บ้านโพนร่มรื่นท่ามกลางป่าชุมชนอันสมบูรณ์ที่ชาวบ้านร่วมกันรักษา และปฏิบัติตามกฎอย่างเคร่งครัด
ด้วยความเคารพและย�าเกรงต่อผีปู่ตา
สังคมอีสานเป็นชุมชนเกษตรกรรมที่ด�ารงอยู่ นอกจารีตประเพณี ในเขตพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์บริเวณ
ด้วยความผูกพันและเกื้อกูลของธรรมชาติ ความไม่ ดอนปู่ตาจึงมีกฎข้อห้ามต่าง ๆ เช่น ห้ามตัดต้นไม้
แน่นอนเหนือการควบคุมของธรรมชาติท�าให้ผู้คน ห้ามเก็บเห็ด ห้ามล่าสัตว์ ห้ามพลอดรักกัน ห้ามพูดจา
เชื่อถือในเรื่องสิ่งลี้ลับ ทั้งผีสางนางไม้ เทวดาอารักษ์ และ หรือปฏิบัติตนโดยมิชอบ เป็นต้น ความเคร่งครัดของ
ผีบรรพบุรุษอย่างเคร่งครัด เพื่อเป็นที่พึ่งทางจิตใจ ข้อห้ามต่าง ๆ ในแต่ละชุมชนจะไม่เท่ากัน หลายแห่ง
สร้างขวัญและก�าลังใจ ผีผู้ให้คุณที่ชาวอีสานนับถือ ยอมรับการเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดอนปู่ตา เช่น
อาทิ ผีบ้าน ผีเรือน ผีเจ้าที่ ผีมเหสักข์ ผีฟ้า ผีแถน การเข้าไปเก็บเห็ด แต่ต้องขออนุญาตกับผีปู่ตาเสียก่อน
ผีมด ผีหมอ และ “ผีปู่ตา” แม้ชาวอีสานจะเรียกว่า อย่างไรก็ตามทุกคนยังเกรงกลัวต่ออ�านาจลี้ลับของ
“ผีปู่ตา” แต่ในความเป็นจริงแล้วหมายถึงผีปู่ย่า ผีปู่ตา ดังค�าบอกเล่าต่อไปนี้
ตายายหรือผีบรรพบุรุษ การเรียกผีปู่ตาเป็นการเรียก “มีคนท�าไม่ดีในบริเวณศาลปู่ตา ก็โดนผีปู่ตา
อย่างย่อ มิได้มีเจตนานับถือเฉพาะแต่ผีฝ่ายชาย หยิกเอา มีคนโดนจริง ๆ” นางวันทา บุญปัญญา บ้านดู่
การสร้างชุมชนชาวอีสานจะมีการสร้างตูบ สุรินทร์
เพื่อเป็นศาลปู่ตาประจ�าหมู่บ้าน ชาวลาว-ไท ทั้งผู้ไท “ปีหนึ่งฉลองโบสถ์หมอล�ามานอนกันเต็ม ไม่ได้
ไทญ้อ และไทยอีสานอื่น ๆ ล้วนนับถือผีปู่ตามาแต่ครั้ง บอกก่อน อาบน�้าแล้ว ไปเห็น (ผี) อยู่ในห้องน�้า” พะขะจ�้า
บรรพบุรุษที่ประเทศลาว ครั้นเมื่ออพยพข้ามแม่น�้าโขง นายสนสิน ชาวนาราช บ้านดู่ สุรินทร์
มาตั้งรกรากที่ฝั่งไทยก็ยังคงสืบสานความศรัทธาและ “แม้ว่ามาที่นี่ทุกวันก็ยังกลัวอยู่ มันมีสิ่งเร้นลับ
พิธีกรรมนี้อย่างเคร่งครัด ที่เรามองไม่เห็น กลัวสิ่งที่ตาไม่เห็น จะเกิดอะไรขึ้น
ผีปู่ตาเป็นผีผู้ปกปักรักษาคนในชุมชนหาก ก็ได้” นายศึก ศรีบ้านโพน พ่อใหญ่จ�้า บ้านโพน
ปฏิบัติตนโดยชอบ และลงโทษเมื่อประพฤติปฏิบัติ กาฬสินธุ์
๓
64