Page 76 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 76
สระเดี่ยว ได้แก่ อา (a) อี (i) อือ (ɯ) อู (u) เอ (e) แอ (ɛ) ค�าที่มีสองพยางค์ คนมานิเวลาออกเสียงจะเน้นหนัก
โอ (o) ออ (ɔ) เออ (ə) ภาษามานิมีการออกเสียงสระสั้นและยาว แต่ พยางค์ที่สอง ได้แก่ จะกฺง = แบก บะเตว = น�้า บิแลฮ = ใส่
ก็ไม่มีบทบาทในการจ�าแนกความหมายของค�า สระประสมได้แก่ เอีย อัมบืง = เห่า ฮันแดง = รู มะเลง = ป่าทึกหรือป่าดงดิบ
(ia) เอือ (ɯa) อัว (ua) อิ-เอ (ie) อิ-แอ (iɛ) นอกจากนี้สระในภาษา การเรียงค�าในประโยคมีลักษณะ ประธาน-กริยา-กรรม เช่น
มานิยังมีลักษณะที่เป็นสระนาสิก (สระที่ออกเสียงขึ้นจมูก) อีกด้วย นะ ฮาว ตะกบ <แม่-กิน-หัวมันป่า> = แม่กินหัวมันป่า ประโยค
และไม่มีระดับเสียงวรรณยุกต์ที่ใช้จ�าแนกความหมายของค�า ปฏิเสธ เช่น อิง เอยบะ แดง ตะเอาะ <ฉัน-ไม่-เห็น-เสือ> = ฉันไม่
เห็นเสือ ภาษามานิมีลักษณะทางภาษาที่มีเสียงพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงกักที่เส้นเสียงเป็นจ�านวนมาก และในภาษามานิไม่มีค�าด่า
หรือค�าพูดหยาบคาย และไม่มีค�าที่แสดงถึงชนชั้นทางสังคม
สถานการณภาษามานิ
กลุ่มชาติพันธุ์นี้มีเพียงภาษาพูดไม่มีภาษาเขียนหรือตัวอักษร
ค�าศัพท์ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ มีการยืม
ศัพท์จากภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ และภาษามลายูถิ่น
เนื่องจากคนกลุ่มนี้อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดทาง
ภาคใต้ของประเทศไทย ในเขตจังหวัดตรัง พัทลุง และสตูล แม้ว่า
ยังมีมานิจ�านวนหนึ่งที่ยังคงด�ารงชีวิตอยู่ในป่ามีการติดต่อกับกลุ่มคน
๑
ภาพ ๑-๒ เยาวชนมานิบ้าน
ป่าบอน จังหวัดพัทลุง ฝึกอ่าน-
เขียน-เรียนภาษาไทย
(ภัทราพันธ์ อุดมศรี ภาพ)
ภาพ ๓-๔ กองไฟคือสิ่งส�าคัญ
ในทับหรือเพิงพักอาศัยกลางป่า
ของมานิ
74