Page 62 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 62
จะได้แผ่นแป้นทรงกลมแบบสีส้มสดใส แล้วน�าไม้ไผ่เหลาเป็นไม้เข็มกลัดด้านหนึ่ง โดยเทินอยู่บนศีรษะ มีคานไม้ไผ่พาดอยู่บนบ่า ส่วน
แหลม อีกด้านหนึ่งของเข็มกลัดท�าให้เป็นฝอยคล้ายเกสรดอกไม้ น�าไปเสียบกลาง ผู้หญิงก็จะติดตามขบวนไปรอบ ๆ ลานประทักษิณด้วย
เหง้าขมิ้นที่หั่นเตรียมไว้ กลายเป็นดอกผึ้งพร้อมใช้ปักประดับต้นผึ้ง ส�าหรับต้นผึ้งใหญ่หรือหอผึ้ง มีลักษณะเป็น
การแบ่งหน้าที่กันท�าต้นผึ้งและหอผึ้งดังกล่าวจึงเป็นที่มาของค�ากล่าว เจดีย์บนฐานสี่เหลี่ยม ส่วนยอดเป็นหลังคาปราสาท ขึ้นรูป
โบราณที่ว่า “ผู้หญิงห่อข้าวต้ม ตัดดอก บีบข้าวปุ้น ผู้ชายหักหอผึ้ง” ซึ่งแสดง ด้วยโครงสร้างไม้เนื้ออ่อนสดและไม้ไผ่สด กรุผนังด้วย
ให้เห็นถึงความร่วมไม้ร่วมมือเมื่อถึงเวลางานบุญงานกุศล การจักสานกาบกล้วยมัดด้วยตอก (เส้นไผ่) เมื่อกรุผนัง
ลักษณะต้นผึ้งที่จัดท�าขึ้นของแต่ละบุคคลนั้น เรียกว่า ต้นผึ้งน้อย เป็นต้นผึ้ง เรียบร้อยสมบูรณ์ดีแล้ว ก็ถึงตอนประดับลวดลายฉลุจาก
ขนาดเล็กอย่างที่เห็นวางตามพุทธสถานทั่วไปในภาคอีสาน และจะเห็นได้เสมอ หยวกกล้วยทับลงบางส่วนอีกครั้ง ก่อนที่จะติดดอกผึ้ง
ที่ฐานองค์พระธาตุศรีสองรัก สร้างด้วยกระบอกไม้ไผ่ ผ่าแบะออก ๔ เส้นเป็นโครง ลงบนพื้นผิวหยวกกล้วยให้งดงามตามแบบดั้งเดิม
ทรงกระโจมบนฐานสี่เหลี่ยม ปลายโครงทั้งสี่ที่เป็นส่วนฐานยึดติดกับคานไม้ไผ่คู่ การแห่ต้นผึ้งใหญ่หรือหอผึ้งจะตั้งไว้บนคานหาบ
ด้วยการมัดตอก (เส้นเยื่อไม้ไผ่) เมื่อผูกยึดโครงไม้ไผ่ทรงกระโจมเรียบร้อยดีแล้ว มีคนหาบ ๒ คน ที่ข้างหน้าและข้างหลัง ต้นผึ้งใหญ่จะน�า
จึงปิดทับด้วยกาบกล้วยสดส�าหรับกลัดติดประดับดอกผึ้งให้สวยงาม ขบวนข้างหน้าให้หมู่ต้นผึ้งน้อยติดตามต่อ ๆ กันไป
การเข้าร่วมขบวนแห่เพื่อถวายต้นผึ้งน้อย ผู้น�าต้นผึ้งถวายจะเป็นผู้ชายเท่านั้น
ภาพ ๑-๔ ปราสาทผึ้งโบราณ จัดเป็นอีกประเภทหนึ่งในการประกวดปราสาทผึ้ง เทศกาลแห่ปราสาทผึ้งสกลนคร ภาพ ๕ ปราสาทผึ้งทรงจัตุรมุขมีความงดงาม
อลังการดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้าสู่จังหวัดสกลนครในช่วงวันออกพรรษาเป็นอย่างมาก
๑
๓
๒ ๔
60