Page 63 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 63

๕





                  วัฒนธรรมประเพณีถิ่นอีสานเนิ่นนานมา มีต้นผึ้งและหอผึ้งเป็นเครื่อง   การแห่ต้นผึ้ง หอผึ้ง ถึงปราสาทผึ้ง ไม่ว่า
            สักการบูชาพระพุทธเจ้าที่ส�าคัญยิ่ง ไม่เพียงในวันวิสาขบูชาอย่างที่ด่านซ้ายเท่านั้น  จะใหญ่หรือเล็ก จะสวยงามแบบพื้นบ้านด้วย
            แต่ยังท�ากันเสมอในงานบุญประเพณีต่าง ๆ ที่เรียก “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” รวมทั้ง  จิตใจศรัทธามุ่งถวายความดีงามสู่สวรรค์ หรือ
            การท�าบุญให้ผู้เสียชีวิตก็มีต้นผึ้งเป็นเครื่องบูชาและเชื่อว่าผู้ตายจะมีที่อยู่บน  จะอลังการด้วยแรงประกวดประชันความงดงาม
            สรวงสวรรค์ ทางภาคกลางเรียกต้นผึ้งและหอผึ้งเช่นนี้ว่า “ปราสาทผึ้ง” ในเวลา นัยส�าคัญของชาวอีสานคือการสืบสานพิธีกรรม
            ต่อมาต้นผึ้งและหอผึ้งตามรูปแบบดั้งเดิมถูกสร้างสรรค์ให้มีความอลังการสมกับ  บูชาพระพุทธเจ้า ที่ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรม

            ค�าเรียกที่ว่า “ปราสาทผึ้ง” ในที่สุด                           ไทยอันงดงามจากบรรพบุรุษนั่นเอง
                  ในเทศกาลแห่ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร มีต้นผึ้งหรือหอผึ้งที่ถูก
            สร้างสรรค์ปรับปรุงขึ้นจากภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิม กลายเป็นปราสาทผึ้ง   แหล่งข้อมูล
            รูปทรงต่าง ๆ ในเทศกาลท่องเที่ยวที่ส�าคัญประจ�าปีของจังหวัดสกลนคร   -  สมุดภาพพระพุทธประวัติ ฉบับอนุรักษ์ภาพเขียน
            ช่วงวันออกพรรษา หรือตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๑ ของทุกปี มีการแบ่ง  ทางพระพุทธศาสนา โดย ครูเหม เวชกร จัดพิมพ์
            ประเภทของปราสาทผึ้งส�าหรับการจัดประกวดไว้ ๔ ประเภท ได้แก่ ปราสาทผึ้ง  โดยวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ๒๕๓๙
            ทรงพระธาตุ ปราสาทผึ้งทรงหอผี และปราสาทผึ้งทรงบุษบก ทั้ง ๓ ชนิดนี้   -  เรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆ ภาคที่ ๔ ว่าด้วยเที่ยวมณฑล
                                                                                 นครราชสีมา มณฑลอุดร และมณฑลร้อยเอ็ด
            ยังนับว่ามีรูปแบบที่คงไว้ตามคติความเชื่อเดิมซึ่งไม่แตกต่างจากต้นผึ้งใหญ่หรือ   พระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา
            หอผึ้งมากนัก ส่วนอีกประเภทหนึ่งที่ดูงดงามอลังการโดดเด่นสะดุดตานักท่องเที่ยว  ด�ารงราชานุภาพ, ๒๕๐๒
            เป็นอย่างยิ่งก็คือ ปราสาทผึ้งทรงจัตุรมุข ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ในเทศกาลส�าคัญ  -  แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและเทศกาล
            ของจังหวัดสกลนคร                                                     จัดพิมพ์โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม, ๒๕๕๙



                                                                                              ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    61
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68