Page 47 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 47

๓                                                   ๔





            ที่ว่า “...เมื่อตกไปยังพื้นถิ่นแถบใดก็มักจะปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม วรรณคดีสูงค่า มีทั้งร้อยแก้ว ร้อยกรองประเภทต่าง ๆ บทละคร
            ของแถบนั้น เพราะฉะนั้นแม้ว่าจุดของเนื้อเรื่องจะเป็นอย่างเดียวกัน  รวมถึงการแสดงที่นิยมในหมู่คนปักษ์ใต้ ที่เรียกชื่อการแสดงชนิดนี้
            แต่ก็จะแสดงลักษณะของผู้คนและของสถานที่ (แวดล้อม) ที่นิทานนั้น  ตามชื่อตัวเอกของเรื่องว่า “โนรา” ซึ่งทุกวันนี้กลายเป็นวัฒนธรรม

            ไปถึงนั้นประสมประสานอยู่เสมอ ความแตกต่างในรายละเอียดต่าง ๆ   การแสดงที่ต้องฝึกฝนอย่างหนัก มีพิธีกรรมความเชื่อประกอบอยู่
            จึงอาจเกิดขึ้นได้ด้วยเหตุนี้” ๒                      อย่างหนักแน่น
                 วินัย ภู่ระหงษ์ ที่ศึกษาต้นฉบับวรรณกรรมเรื่องนี้ให้ข้อสังเกต
            ว่า เป็นที่น่าแปลกที่เนื้อหาสุธนชาดกของทางภาคเหนือซึ่งเป็น   ปัจจุบันนอกจากนิทานที่ให้เล่าต่อ วรรณคดีให้อ่าน การแสดง
            ถิ่นแรกที่รับเรื่องนี้ โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่   ให้ชมแล้ว เรื่องเล่าของคู่รักในต�านานนี้ยังด�าเนินต่อ โดยเคลื่อนไปสู่
            กลับมีเนื้อความใกล้เคียงกับต้นเรื่องคือเมืองนครศรีธรรมราชเป็น  รูปแบบที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่มากขึ้น ทั้งการ์ตูน ละครทีวี ภาพยนตร์ ฯลฯ
            ศูนย์กลาง มากกว่าเรื่องที่มีแพร่หลายอยู่ในดินแดนใกล้เคียงเมือง ทั้งหมดนี้ย่อมเป็นส่วนหนึ่งของประจักษ์พยานที่สะท้อนให้เห็นว่า
            นครศรีธรรมราชเสียอีก                                 การพิสูจน์รักของพระสุธนกับนางมโนราห์ ได้ผ่านกาลเวลาพิสูจน์
                 ตลอดเวลานับศตวรรษที่เรื่องราวความรักของคู่พระนางที่อยู่ คุณค่าของเรื่องราว และการแพร่หลายที่เข้าถึงชีวิตผู้คนในหลาก
            ในวิถีชีวิตและความทรงจ�าของผู้คน จากนิทานพื้นบ้าน กลายเป็น รูปแบบและจะยังคงอยู่ต่อไป


            ๒ กุหลาบ มัลลิกะมาส, “นิทานชาวบ้าน.” สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ฉบับพิเศษ ๑ (พระนคร : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ๒๕๑๓). หน้า ๕๘.



                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    45
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52