Page 42 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 42
๑ ๒
ตนเคาเรื่องจนถึงเมืองไทย ทั้งสองฉบับ แล้วแพร่มายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยทางทะเล
งอกงามเปนหลากวัฒนธรรม เป็นการถ่ายทอดโดยวิธีจ�า ๆ กันต่อมา และตกแต่งเพิ่มเติมให้พิสดาร
เรื่องพระสุธนกับนางมโนราห์นี้ไม่ได้มีเพียงแค่นิทาน หากยังมี ออกไป น่าจะเข้ามาเมืองไทยในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ผ่านทาง
๑
อีกหลายรูปแบบและหลายส�านวน เดิมทีเข้าใจกันว่าเรื่องสุธนชาดก ภาคใต้ซึ่งมีเมืองนครศรีธรรมราชเป็นศูนย์กลาง แล้วจึงแพร่ไปยัง
ในหนังสือปัญญาสชาดกของพระภิกษุชาวเชียงใหม่ที่น�านิทาน ภาคเหนือซึ่งมีศูนย์กลางคือเมืองเชียงใหม่ พระภิกษุชาวเชียงใหม่
ชาวบ้านขึ้นมาผูกขึ้นเป็นนิทานชาดกนั้น เป็นต้นเค้าของเรื่อง จึงได้น�าเรื่องมาผูกเป็นชาดกคือ สุธนชาดก ซึ่งผิดเพี้ยนกันเฉพาะ
พระสุธน-นางมโนราห์ฉบับต่าง ๆ ในประเทศไทย แต่ วินัย ภู่ระหงษ์ ส่วนที่เป็นรายละเอียดที่ไม่ส�าคัญต่อการด�าเนินเรื่อง นอกจากเล่า
๒
ผู้ศึกษาเปรียบเทียบพระสุธน-นางมโนราห์ฉบับต่าง ๆ พบว่าฉบับ สู่กันฟังอย่างนิทานชาวบ้านแล้ว ภาคเหนือมีบทค่าวซอ เรื่องสุธน
ในประเทศไทยมีเนื้อความเหมือนกับเรื่องพระสุธน-นางมโนราห์ ขณะที่ภาคใต้น�ามาแต่งเป็นบทช้าน้องหรือเพลงร้องเรือ (เพลง
ที่มีอยู่ในประเทศอินเดีย บางส�านวนคล้ายคลึงกันจนเกือบจะกล่าว กล่อมเด็ก) รวมถึงขยายกลายเป็นวัฒนธรรมการแสดงและอื่น ๆ
ได้ว่าไม่ผิดเพี้ยนกันเลย จึงเป็นที่เชื่อได้ว่าวรรณกรรมเรื่องนี้มีต้นเค้า เช่น การร�าโนรา หนังตะลุง เพลงบอก ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
อยู่ในประเทศอินเดีย โดยน่าจะได้มาจากกินรีชาดกในคัมภีร์มหาวัสตุ นิทานพื้นบ้านเรื่องพระสุธนมโนราห์-ภาคใต้ ได้รับการขึ้น
หรือสุธนกุมาราวทานในคัมภีร์ทิพยาวทาน ฉบับใดฉบับหนึ่งหรือ ทะเบียนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มีทั้งประเภท
๑ วินัย ภู่ระหงษ์. พระสุธน-นางมโนห์รา การศึกษาเปรียบเทียบที่มาและความสัมพันธ์ของฉบับต่าง ๆ. วิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๐.
๒ ค่าวซอ เป็นค�าประพันธ์ภาคเหนือรูปแบบหนึ่ง มี ๒ ความหมาย คือ หมายถึงฉันทลักษณ์ค่าวซอ และหมายถึงวรรณกรรมประเภทค่าวซอ เป็นที่นิยมของชาวบ้าน เพราะใส่ค่าวเนื้อเรื่อง
เป็นนิทานพื้นบ้าน ผ่านการฟังเสียงไพเราะจากผู้อ่านและได้รับความเพลิดเพลินจากเนื้อเรื่องนิทาน การอ่านค่าวนิยมในงานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน บวชลูกแก้ว (บวชเณร)
40