Page 50 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 50
๑
ปัจจุบันจังหวัดที่มีชื่อเสียงและมีการสืบสานวิถีชีวิตของ ที่หลงใหลในวิถีแห่งการตีโพน ฉลอง นุ่มเรือง ในวัย ๕๐ ปี เล่าถึง
เครื่องดนตรีที่เรียกว่า “โพน” เห็นจะไม่มีที่ใดที่มีประวัติศาสตร์ ที่มาและความผูกพันกับโพนให้ฟัง ท่ามกลางบรรยากาศของสวนยาง
และมีชื่อเสียงเท่าจังหวัดพัทลุง ที่ชูล�าต้นสูงขึ้นไปหาแดด มีสายลมของฤดูโยกเรือนยอดยางส่งเสียง
ค�าว่า โพน คือภาษาท้องถิ่นของจังหวัดพัทลุง ใช้เรียกชื่อ ราวกับท�านองดนตรีแทรกสลับบทสนทนาเป็นช่วง ๆ
เครื่องดนตรีไทยที่มีรูปร่างคล้ายกลองทัด มีขาตั้ง จ�านวน ๓ ขา ตีด้วย ฉลองเริ่มต้นเข้ามาเกี่ยวพันกับโพนอย่างจริงจังตั้งแต่อายุ
ไม้แข็ง ๒ มือ ตัวโพนท�าด้วยการขุดเจาะจากไม้เนื้อแข็ง เช่น จากไม้ ๑๕ ปี ครอบครัวเกี่ยวพันกับการท�าโพนตีโพนมาตั้งแต่รุ่นทวด
ต้นตาล ไม้ขนุน มีขนาดรูปทรงต่าง ๆ กัน ส่วนมากมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ตัวฉลองเริ่มจากเป็นลูกมือให้น้าชาย เรียนรู้การฝึกสร้างโพน ไปจน
ตั้งแต่ ๓๕-๘๐ เซนติเมตร หน้าโพนนิยมหุ้มด้วยหนังควายทั้งสองหน้า ฝึกตีโพน แต่ดูเหมือนว่าความหลงใหลนั้นจะเป็นเรื่องของการสร้าง
ไม้ตีโพนกลึงด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สาวด�าไม้หลุมพอ โพนมากกว่า ไม่เพียงแต่ท�างานอยู่กับน้าชายเท่านั้น เขายังมีโอกาส
ส�าหรับโพนที่ท�าพิเศษเพื่อเข้าแข่งขัน เรียกว่า “โพนแข่ง” ได้สร้างโพนร่วมกับครูโพนหลายท่าน
โพนที่มีชื่อเสียงของจังหวัดพัทลุงมีอยู่เป็นจ�านวนมาก อาทิ ฟ้าลั่น ฉลองชี้ไปที่ลานกว้างหน้าบ้านบอกว่า “ทุกเย็นเด็ก ๆ จะมา
ฟ้าสะท้าน เต่าทอง ก้องนภา อีโครงพุก ทุก ๆ ปี เมื่อเทศกาลออกพรรษา รวมตัวกันซ้อมตีโพนที่นี่ ยิ่งใกล้ช่วงออกพรรษาจะคึกคัก เมื่อก่อนมาก
เดินทางมาถึงการแข่งขันตีโพนจะเป็นกิจกรรมที่ทุกคนรอคอย แต่เดี๋ยวนี้น้อยลง”
เราเดินทางลงใต้เพื่อไปพบกับฉลอง ศิลปินสร้างโพนแข่งแห่ง บริเวณใต้ชายคาหน้าบ้านเต็มไปด้วยโพนหลายลูก ทั้งที่เป็น
ค่ายโพนป่ายางหูเย็น หนึ่งในมือสร้างโพนและครูโพนของเยาวชน ของฉลองเอง และที่ถูกส่งมาให้ซ่อมแซม ล้วนต้องลงแรงท�าด้วย
48