Page 43 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 43
มุขปาฐะและลายลักษณ์ (หนังสือบุด) ที่แต่งเป็นค�ากาพย์มีหลาย ติดตรึงใจผู้คน อาจเป็นเพราะเรื่องของความรักที่ต้องลุ้นว่าพระสุธน
ส�านวน เช่น มโนราหรานิบาต วัดมัชฌิมาวาส จังหวัดสงขลา ส่วนทาง จะผ่านด่านพ่อตาแม่ยายที่ให้พิสูจน์หานางมโนราห์ให้เจอ หรือ
ภาคเหนือคือเรื่องพระสุธนชาดก ที่รวมอยู่ในปัญญาสชาดก ซึ่ง จะเป็นการผจญภัยอันน่าตื่นเต้นกว่าจะถึงบ้านของนางมโนราห์ที่
จากการวิเคราะห์เห็นว่าน่าจะเป็นส�านวนที่แพร่หลายไปทั่วประเทศ ป่าหิมพานต์ ที่ต้องเดินทางยาวนานถึง ๗ ปี ๗ เดือน โดยได้ผู้ช่วย
เมื่อมาถึงภาคกลางก็ได้รับความนิยมมาก โดยเฉพาะในสมัยอยุธยา อย่างพระฤษีกับของวิเศษทั้งหลาย หรือจะเป็นเพราะการที่วรรณกรรม
ตอนปลาย ปรากฏว่ามีบทละครครั้งกรุงเก่าเรื่อง “นางมโนราห์” ซึ่ง เรื่องนี้เสมือนหนึ่งภาคต่อของเรื่อง “นางสิบสอง” หรือ พระรถ เมรี
พัฒนาต่อมาเป็นวรรณกรรมอีกหลายรูปแบบ เช่น พระสุธนค�าฉันท์ ซึ่งในตอนท้ายเรื่องเมื่อพระรถเสนได้รู้ความจริงว่านางเมรีเป็น
ของพระยาอิศรานุภาพ (อ้น) พระสุธนค�ากลอนของนายพลอย และ ธิดายักษ์จึงหนีกลับบ้าน นางเมรีติดตามมาและขอร้องให้กลับไปอยู่
พระสุธนฉบับร้อยแก้วของหลวงศรีอมรญาณ เป็นต้น แต่ละส�านวน ด้วยกัน แต่พระรถเสนไม่ยอม นางเมรีจึงตัดพ้อพระรถเสนก่อนจะ
ส่วนใหญ่มีโครงเรื่องจากพระสุธนชาดกในปัญญาสชาดกดังกล่าว กลั้นใจตายว่า “ชาตินี้น้องตามพี่มา ชาติหน้าขอให้พี่ตามน้องบ้าง”
ขณะที่ภาคอีสานก็ได้รับไปเช่นกันเรียกชื่อพระสุธนว่า ท้าวสีธน เรื่องราวต่าง ๆ จึงบังเกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อสองพระนางกลับชาติมา
เกิดใหม่เป็นพระสุธนและนางมโนราห์ การผูกเรื่องเชื่อมโยงตามวิถี
ติดตรึงใจดวยรักขามภพ วัฒนธรรมที่มีความเชื่อเรื่องชาติภพนี้จึงท�าให้เข้าถึงใจคนหมู่มาก
เหตุที่น่าจะท�าให้นิทานหรือวรรณกรรมเรื่องนี้เป็นที่นิยมและ และเป็นที่จดจ�ายาวนาน
ภาพ ๑ พราหมณ์ร่ายเวทมนตร์เพื่อฆ่าพญานาคท้าวชมพูจิตร (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ) ภาพ ๒ เหล่านางกินรี พี่ ๆ ของนางมโนราห์
ยกขบวนไปเล่นน�้า (จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดเขียน อ่างทอง) ภาพ ๓ พรานบุญมาบอกพระสุธน (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ)
ภาพ ๔ พระฤษีบอกวิธีการจับนางมโนราห์แก่พรานบุญ (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ) ภาพ ๕ ในที่สุดพรานบุญก็จับนางมโนราห์และถอดปีก
ถอดหางเป็นผลส�าเร็จ (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ)
๓ ๔ ๕
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 41