Page 44 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 44
เปรียบเทียบเรื่องราวหลากส�านวน
พระสุธน-มโนราห์แต่ละส�านวนมีชื่อตัวละคร ชื่อเมือง และ
รายละเอียดเหตุการณ์ปลีกย่อยแตกต่างกันออกไป เช่น พระสุธน-
มโนราห์ส�านวนภาคใต้ ตรงกับสุธนชาดกของภาคเหนือ คือ
นางมโนราห์เป็นพี่องค์โต ส�านวนอื่น ๆ มักเป็นน้องสุดท้อง ส่วน
พรานบุญ ส�านวนภาคใต้ใช้ชื่อ พรานบุญทฤกษา ส่วนสุธนชาดก
ใช้ชื่อ พรานบุณฑริก และชื่อเมืองปัญจาในส�านวนภาคใต้คือ
เมืองปัญจาละในสุธนชาดก เป็นต้น
ตัวอย่างส�านวนจาก มโนราหรานิบาต ฉบับวัดมิชฌิมาวาส
จังหวัดสงขลา เริ่มที่ท้าวอาทิตย์วงศ์และนางจันทาเทวีแห่งเมือง
ปัญจา มีพระโอรสคือพระสุธน เมืองนี้มีความสุขร่มเย็นเพราะ
สักการะพญานาคท้าวชมพูจิตรเป็นประจ�า ต่างกับเพื่อนบ้านคือ
เมืองมหาปัญจาที่มีแต่ความเดือดร้อน เจ้าเมืองมหาปัญจาอิจฉา
จึงคิดฆ่าพญานาคท้าวชมพูจิตรโดยให้พราหมณ์ร่ายเวทมนตร์ แต่
มิส�าเร็จเพราะพรานบุญขัดขวางไว้ พญานาคจึงตอบแทนพรานบุญ ๑ ๒
บอกเรื่องนางมโนราห์ และให้พรานบุญยืมนาคบาศไปคล้องเอา
นางมโนราห์เพื่อไปถวายให้พระสุธน
ส่วนสุธนชาดกเริ่มความว่า ท้าวอาทิจจวงศ์แห่งอุดรปัญจาล
มีมเหสีนามว่า จันทเทวี ต่อมาพระโพธิสัตว์ได้จุติลงมาสู่ครรภ์ของ เล็กน้อยในส�านวนต่าง ๆ เช่น มโนราหรานิบาต ฉบับของสงขลาว่า
นางจันทเทวี เมื่อประสูติปรากฏมีขุมทองผุดขึ้นทั้งสี่ทิศ จึงให้นามว่า พระสุธนกับนางมโนราห์แต่งงานอยู่กินกันมีความสุข จนกระทั่ง
สุธน และภายในเมืองมีสระใหญ่ใต้สระนั้นเป็นที่อยู่ของพญานาค พระสุธนต้องออกรบ พราหมณ์ปุโรหิตของเมืองระแวงว่าพระสุธน
ชื่อ ชมพูจิตร ซึ่งคอยบันดาลให้บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ จะถอดยศตนจึงแอบไปสมคบกับข้าศึกให้ยกทัพมาตีเมืองปัญจา
ถ้าไปฟังส�านวนภาคอีสานเรื่องท้าวสีธน อาจพบค�าผู้เฒ่า ช่วงนั้นนางจันทาเทวีฝันร้าย พราหมณ์ปุโรหิตทูลให้นางท�าพิธี
เพิ่นว่า ธนมโนราห์ สีธามโนรน แล้วจึงเล่าเข้าเรื่องท้าวอาทิตย์ สะเดาะเคราะห์ด้วยการบูชายัญนางมโนราห์ นางมโนราห์จึงหา
ครองเมืองปัญจา มีมเหสีชื่อ จันทรา ราชกุมารชื่อ สีธน (พระสุธน) ทางรอดด้วยการขอปีกและหางเพื่อร�าถวายเป็นครั้งสุดท้าย
คนเก่งกล้าวิชา ราษฎรอยู่ดีกินดี พืชผลบริบูรณ์มิได้คลาดแคลน แล้วบินหนีไปพร้อมกับฝากแหวนและต�ารายาแก้พิษต่าง ๆ ไว้กับ
อยู่มาวันหนึ่งพรานบุญ ชาวเมืองปัญจาได้เข้าไปหาล่าสัตว์ในป่าแถบ พระกัสสปฤษีเพื่อมอบแก่พระสุธน เมื่อพระสุธนชนะศึกกลับมา
สระอโนดาต ได้พบกินรีพี่น้อง ๗ นางก�าลังเล่นน�้าอยู่จึงใช้บ่วงคล้อง รู้เรื่องจึงออกเดินทางไปตามนางมโนราห์กลับ ใช้เวลาถึง ๗ ปี ๗ เดือน
จับมาได้หนึ่งนางเป็นน้องนุชสุดท้อง คือ นางมโนราห์ นั่นเอง ฝ่ายพี่ ๆ จึงประสบความส�าเร็จ
ตกใจกลัวบินหนีกระเจิงให้วุ่น หน้าตาของนางสวยสดงดงามหาใด ขณะที่ในสุธนชาดก เมื่อน�ามาเปรียบเทียบกับสุธนกุมาราวทาน
เทียบทานได้ พรานบุญจึงไปน�าถวายท้าวสีธน... ด�าเนินความเหตุที่มโนราห์ต้องบินหนีกลับบ้านไม่ต่างกันว่า พระสุธน
ที่กล่าวไปข้างต้นเป็นตัวอย่างให้เห็นว่าการด�าเนินเรื่องหลัก ได้สัญญาแก่พราหมณ์ที่รับใช้ว่าจะให้เป็นปุโรหิตเมื่อพระองค์
ไม่แตกต่างกันมากนัก ตอนกลางเรื่องและตอนท้ายมีแตกต่างกันบ้าง ขึ้นครองราชย์ ท�าให้ปุโรหิตที่ด�ารงต�าแหน่งอยู่โกรธและคิดพยาบาท
ภาพ ๑ หลังจากนางมโนราห์สามารถหนีออกจากพิธีบูชายัญได้แล้ว จึงได้ฝากแหวนและต�ารายาแก้พิษไว้กับพระฤษี (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ)
ภาพ ๒ พระสุธนถอดแหวนใส่หม้อน�้าที่นางกินรีมาตักไปรดนางมโนราห์ จึงท�าให้รู้ว่าพระสุธนติดตามมาถึงแล้ว (ภาพจิตรกรรมในกรอบ พระอุโบสถ วัดสุทัศน์ฯ)
ภาพ ๓ ภาพตอนพระสุธนออกเดินป่าตามหานางมโนราห์นานถึง ๗ ปี ๗ เดือน สมค�าอธิษฐานของนางเมรีว่า ชาติหน้าขอให้พี่ตามน้องไป (ภาพจิตรกรรม
ในพระอุโบสถ วัดเขียน อ่างทอง)
42