Page 51 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 51

๒

            ภาพ ๑ ฉลอง ช่างโพนมือดีแห่งพัทลุงก�าลังทดลองเสียงจากหนังโพนที่ขึงตึงตามวิธีโบราณที่สืบทอดมา  ภาพ ๒ เลือกผืนหนังควายแห้งที่ดีที่สุด ก่อนน�าลงแช่น�้าในคลอง
            ข้างโรงท�าโพน  ภาพ ๓ บันทึกความรู้ที่ได้มา ถือเป็นต�าราใช้ถ่ายทอดสู่รุ่นต่อไป






            ความตั้งใจ นอกจากทุ่มเทท�าโพนเพื่อการแข่งขันแล้ว ยังมีโพนอีก
            หลายลูกที่ถูกว่าจ้างให้ท�าขึ้นเพื่อถวายวัดหรือเพื่อใช้ในงานชักพระ
            ซึ่งก็มุ่งมั่นท�าสุดฝีมือเช่นกัน

                  การแข่งขันตีโพนนั้นไม่ได้เริ่มต้นขึ้นในวันแข่งขัน หากแต่
            เริ่มต้นขึ้นเมื่อช่างตีโพนคิดสร้างโพนลูกหนึ่งขึ้นมาแล้วโดยเริ่มหา
            ท่อนไม้ที่ได้ขนาดมาท�าโพนแข่ง เสาะหาหนังควาย น�าวัสดุธรรมชาติ
            ที่ได้มาเริ่มลงมือผ่านกระบวนการต่าง ๆ จนถึงปรับแต่งเสียง ที่ต้อง
            ใช้เวลาความทุ่มเททั้งฝีมือแรงกายและแรงใจในการให้ก�าเนิดโพน
            ลูกหนึ่งขึ้นมา
                  “ผมจดบันทึกความเป็นมาขั้นตอนการท�า วิธีท�าไว้เป็นคู่มือ
            ส�าหรับสอนให้คนที่สนใจ” ฉลองเปิดสมุดบันทึกให้ดูเมื่อถูกถามถึง
            รายละเอียดต่าง ๆ ของการสร้างโพน และการแข่งตีโพน “สิ่งที่เราพูด
            ถ่ายทอดต่อออกไปจะได้ไม่ผิดเพี้ยน” เป็นความตั้งใจของฉลองที่ว่า
            จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้มาทั้งจากครูบาอาจารย์และการทดลองด้วย
            ตนเองจนเป็นความรู้ มีรูปแบบเป็นแนวทางของตนเอง การจดสิ่งที่  ๓



                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    49
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56