Page 46 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 46

พระสุธน จึงไปทูลยุยงท้าวอาทิจจวงศ์ว่าพระสุธนเป็นกบฏ แต่ไม่   หย่อนลงในหม้อน�้าที่นางกินนรีมาตักไปรดนางมโนราห์เพื่อล้าง
          เป็นผล บังเอิญมีศึกมาตีนครอุดรปัญจาล จึงแกล้งทูลแนะน�าให้   กลิ่นสาบมนุษย์ ท�าให้นางรู้ว่าเจ้าชายติดตามมาจึงไปทูลให้ท้าวทรุมะ
          ส่งพระสุธนไปรบ และในวันที่พระสุธนชนะศึกท้าวอาทิจจวงศ์ก็   ทรงทราบ ท้าวทรุมะจึงให้น�าเจ้าชายเข้ามาในวัง หลังจากที่ได้ทดลอง
          ทรงสุบิน ปุโรหิตจึงอาศัยเป็นเหตุที่จะฆ่านางมโนราห์เพื่อให้พระสุธน   ก�าลังและความเก่งกล้าสามารถ ตลอดจนความซื่อสัตย์ที่มีต่อ
          เศร้าโศกเสียพระทัยจนสิ้นพระชนม์ ปุโรหิตแกล้งทูลพยากรณ์ว่า  นางมโนราห์จนเป็นที่พอใจแล้ว ท้าวทรุมะจึงจัดการอภิเษกให้ในที่สุด
          เคราะห์ร้ายนั้นต้องท�าพิธีบูชายัญ และต้องใช้นางมโนราห์มาบูชายัญ  ซึ่งในสุธนชาดกก็ด�าเนินความตามนี้ แตกต่างกันเฉพาะรายละเอียด
          ด้วย เมื่อนางมโนราห์รู้ก็ไปทูลขอความช่วยเหลือจากนางจันทเทวี   ของเส้นทาง ภัยอันตรายต่าง ๆ วิธีการแก้ไข ตลอดจนรายละเอียด
          แต่ก็ไม่สามารถช่วยได้ จึงใช้อุบายขอปีกหางจากนางจันทเทวี แล้ว  การทดลองความเก่งของพระสุธนเท่านั้น
          สวมบินหนีไป                                             ตอนปิดเรื่องของทั้งสองส�านวนด�าเนินเรื่องเหมือนกัน กล่าวคือ
              ส่วนเหตุการณ์ช่วงท้ายเรื่องที่พรรณนาถึงการติดตามของ   หลังจากพระสุธนอยู่ที่เมืองกินนรระยะเวลาหนึ่งแล้ว ปรารถนา
          พระสุธนจนกว่าจะพบนางมโนราห์อีกครั้ง ในสุธนกุมาราวทานด�าเนิน  จะกลับบ้านเมือง จึงบอกแก่นางมโนราห์ นางจึงขอติดตามไปด้วย และ

          ความว่า เจ้าชายสุธนได้เดินทางติดตามไปตามทางที่นางมโนราห์   ทั้งสองก็พากันกลับไปยังบ้านเมืองของพระสุธนในที่สุด แล้วจบเรื่อง
          บอกไว้กับพระฤษี และน�าลูกวานรไปด้วยเพื่อจะได้เลือกกินผลไม้   ด้วยการประชุมชาดกคือ การแสดงกลับชาติ
          ที่ไม่เป็นพิษ ได้พบอันตรายต่าง ๆ แต่ก็สามารถรอดพ้นไปได้จนถึง   ตามข้อเท็จจริงของนิทานหรือเรื่องเล่าทั้งหลายที่เล่าสู่กันฟัง
          เมืองกินนร และได้ใช้แหวนของนางมโนราห์ที่ฝากไว้กับพระฤษี   เพื่อความเพลิดเพลินหรือเพื่อการใดก็ตามมักเป็นไปตามลักษณะ


          ภาพ ๑-๓ เรื่องพระสุธน มโนราห์ จากพระสุธนชาดก จิตรกรรมไตรภูมิในสมุดข่อย (ภาพจากหนังสือสมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา-กรุงธนบุรี เล่ม ๑ และเล่ม ๒)
          ภาพ ๔ คณะนักแสดงโนรา นครศรีธรรมราช สมัยรัชกาลที่ ๖ คนนั่งด้านซ้ายแสดงเป็นตัวพราน ซึ่งโนรามาจากชื่อนางมโนราห์ ตัวเอกละครนอกสมัยอยุธยา ซึ่งเป็น
          ละครชาตรี บางทีเรียกรวมกันว่า โนราชาตรี



































           ๑                                                   ๒




          44
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51