Page 44 - Culture3-2017
P. 44
กีฬา การละเล่น
ทรงยศ กมลทวิกุล เรื่องและภำพ
๑ ๒
ชักเย่อเกวียนพระบาท
สืบสานวิถีชีวิต วัฒนธรรม
ในช่วงเทศกาลปีใหม่ไทยหรือเทศกาลสงกรานต์ ในแต่ละ
จังหวัดทั่วทุกภาคของไทยนอกจากจะเล่นสาดน�้ากันอย่างสนุกสนาน
แล้ว ยังมีประเพณีส�าคัญหลายอย่างที่แต่ละชุมชนได้ร่วมกันท�าซึ่ง
มีรายละเอียดแตกต่างไปตามแต่ละท้องถิ่น รวมไปถึงการเล่นต่าง ๆ
ที่จัดในช่วงเวลานี้ด้วย เช่นที่ต�าบลตะปอน อ�าเภอขลุง จังหวัด
จันทบุรี ที่เราแวะไปเยือนเพื่อชมประเพณีการเล่นโบราณที่จัดใน
วันที่ ๑๗ เมษายนของทุกปี การละเล่นนี้คือ ชักเย่อเกวียนพระบาท
ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ท�าร่วมกับประเพณีชักพระบาทของชาวตะปอน
ต�ำบลตะปอนถือเป็นอ�ำเภอเก่ำแก่ ในอดีตผู้คนในแถบนี้ประกอบ
อำชีพท�ำนำและประมง ต่อมำหันมำปลูกผลไม้ หำกลองขับรถตระเวนดู
ตำมเส้นทำงที่เชื่อมโยงพื้นที่ชุมชนต่ำง ๆ ในเขตอ�ำเภอขลุงจะพบชุมชนเก่ำ
แก่หลำยชุมชน สังเกตได้จำกบ้ำนเรือนแบบโบรำณที่ยังคงรักษำไว้อย่ำงดี
เมื่อมีชุมชนโบรำณจึงไม่แปลกที่จะได้สัมผัสประเพณีวัฒนธรรม
กำรเล่นแบบโบรำณที่ปฏิบัติสืบกันมำ ในช่วงเทศกำลสงกรำนต์ชำวบ้ำน
แถบต�ำบลตะปอนนอกจำกจะมีกำรแห่พระบำท มีงำนบุญที่ท�ำร่วมกันที่ ภาพ ๑ เด็ก ๆ สำมัคคีช่วยกันออกแรงดึงเชือก ภาพ ๒ ทีมเด็กชำยก�ำลังใช้
วัดแล้ว ทุกคนยังมำรวมตัวกันเล่นชักเย่อเกวียนพระบำทอย่ำงสนุกสนำน เทคนิคในกำรเล่นชักเย่อ นั่นคือกำรกดเส้นเชือกไว้ เป็นกำรผ่อนแรงไว้ชั่วครู่
ก่อนที่จะเริ่มดึงอีกครั้ง ภาพ ๓ ควำมสำมัคคีและช่วยกันเป็นทีมคือสิ่งที่ปรำกฏ
ทั้งที่วัดตะปอนน้อยและวัดตะปอนใหญ่ อยู่ในกำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำท
42