Page 42 - Culture3-2017
P. 42
พระพุทธสิหิงค์
สง่าผ่าเผย หรือ “สฮิง-สเฮย” น่าภิรมย์ใจ ที่ต่างจากพระพุทธรูปสุโขทัยประการส�าคัญคือ ลักษณะพระพักตร์
ศาสตราจารย์ ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ สาขาวิชาศิลปะไทย สัดส่วนของพระวรกายพระพุทธรูปสุโขทัยจะสูงกว่า มีพระอังสาใหญ่
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิบายไว้ว่า ชื่อ บั้นพระองค์เล็ก ลักษณะพระโอษฐ์พระพุทธรูปสุโขทัยจะเป็นคลื่น
พระพุทธสิหิงค์ หรือพระสิงห์ เป็นค�าเรียกพระพุทธรูป และลักษณะที่ส�าคัญที่สุด ได้แก่ สังฆาฏิที่เป็นแผ่นใหญ่และลงมา
กลุ่มหนึ่งที่มีพุทธลักษณะเด่นตรงกันหลายประการ ส่วน จดขอบสบงเช่นนี้ ไม่พบในศิลปะสุโขทัย ลักษณะของพระพุทธรูป
เหตุที่มีชื่อว่า “สิหิงค์” อาจมาจากความหมายที่แปลได้ว่า ศิลปะสุโขทัยสังฆาฏิจะเป็นแผ่นเล็ก ๆ ยาวลงมาจดพระนาภี ส่วน
“มีลักษณะท่าทางองอาจดุจราชสีห์” ตรงกับรูปลักษณะ ปลายคล้ายเขี้ยวตะขาบ ปรากฏในพระพุทธรูปแบบเชียงแสนสิงห์สอง
ของพระพุทธรูปที่ดูสง่าผ่าเผย ในศิลปะล้านนาที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะอยุธยา ที่ปรากฏในล้านนา
แต่ อาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ให้ความเห็นต่างออกไป ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เปรียบเทียบได้กับพระเจ้าเก้าตื้อ
โดยกล่าวว่าน่าจะเกี่ยวข้องกับค�าว่า “สฮิง-สเฮย” ซึ่งเป็น วัดสวนดอก เมืองเชียงใหม่
ภาษามอญ แปลว่า “อันเป็นที่น่าภิรมย์ใจ” ตรงกับต�านานที่ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัยให้ทัศนะว่า พระพุทธสิหิงค์ที่
กล่าวว่า เมื่อได้เห็นพระพุทธสิหิงค์แล้ว ก่อให้เกิดความภิรมย์ใจ ประดิษฐานในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ กรุงเทพฯ อาจจัดเป็นพระพุทธรูป
เหมือนได้เห็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์จริง ในศิลปะล้านนาแบบเชียงแสนสิงห์สอง มีอายุราว ๆ กลางพุทธ-
ศตวรรษที่ ๒๑ ไม่ใช่พระพุทธรูปที่อัญเชิญมาจากลังกา และไม่น่า
จะจัดไว้ในศิลปะสุโขทัยตามที่เข้าใจกันแต่เดิม
พระพุทธสิหิงค์ กรุงเทพฯ พระพุทธสิหิงค์ เมืองนครศรีธรรมราช
พระพุทธสิหิงค์อีกองค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ที่กรุงเทพฯ ใน พระพุทธสิหิงค์องค์นี้ประดิษฐานที่หอพระพุทธสิหิงค์ กลางเมือง
พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ตามประวัติ นครศรีธรรมราช จัดเป็นพระพุทธรูปในสกุลช่างนครศรีธรรมราช
กล่าวว่า สมเด็จฯ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทอัญเชิญมา มีลักษณะทางพุทธศิลป์คือ เป็นพระพุทธรูปแบบขัดสมาธิเพชร ขมวด
จากเมืองเชียงใหม่เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๘ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย พระเกศาปานกลาง พระรัศมีเป็นดอกบัวตูม พระพักตร์กลมป้อม
พิจารณาประกอบต�านานที่กล่าวว่า พระพุทธสิหิงค์อัญเชิญมาจาก พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบลงต�่า แย้มสรวลแบบพระพุทธรูปสิงห์
ลังกาก็พบว่า พระพุทธสิหิงค์องค์นี้ตรงกับต�านานมากที่สุด เพราะใน หนึ่งในศิลปะล้านนา พระวรกายอวบอ้วนจนกลมป้อมที่มักเรียกว่า
ศิลปะลังกานิยมพระพุทธรูปปางสมาธิและประทับนั่งขัดสมาธิราบ แบบขนมต้ม พระอุระนูน ชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระถัน มีการเล่น
ทว่าลักษณะทางพุทธศิลป์ไม่ใช่ศิลปะลังกา แต่เป็นศิลปะที่สร้างขึ้น ชายผ้าสังฆาฏิซ้อนหลายชั้น อันเป็นลักษณะพิเศษของสกุลช่างนี้
ในประเทศไทย รวมทั้งมีข้อสันนิษฐานที่ต่างกันอยู่ ๒ แนวความคิด ที่เหมือนกับพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรในศิลปะอยุธยา
ว่าเป็นศิลปะสุโขทัย หรือศิลปะล้านนา ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัยมองว่า จากต�านานพระพุทธสิหิงค์
พระพุทธสิหิงค์องค์นี้เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ประทับนั่ง และรูปแบบพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรในศิลปะอยุธยาได้ส่งต่ออิทธิพล
ขัดสมาธิราบ ต่างจากพระพุทธสิหิงค์อีก ๒ องค์ที่เป็นปางมารวิชัย ไปยังนครศรีธรรมราช จึงมีพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปแบบ
และประทับนั่งขัดสมาธิเพชร มีพระพักตร์รูปไข่ ขมวดพระเกศาเล็ก ขัดสมาธิเพชรเกิดขึ้นในดินแดนใต้ โดยมีลักษณะรูปแบบสอดคล้องกัน
พระรัศมีเป็นเปลว พระขนงโก่ง แย้มพระโอษฐ์เล็กน้อย แนวพระโอษฐ์ อย่างมากกับศิลปะอยุธยา พระพุทธรูปแบบนี้ของสกุลช่างนครศรี-
เป็นเส้นตรง ไม่หยักโค้งเป็นคลื่นแบบพระพุทธรูปสุโขทัย พระวรกาย ธรรมราชก�าหนดอายุว่าน่าจะอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ และยัง
บอบบาง ไม่อวบอ้วนแบบพระพุทธรูปสิงห์หนึ่ง สังฆาฏิเป็นแผ่นใหญ่ นิยมสร้างอย่างแพร่หลายต่อเนื่องมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๓
และยาวลงมาจดขอบสบง ขณะเดียวกันก็ยังเห็นว่าพระพุทธสิหิงค์เกิดขึ้นเริ่มแรกใน
ลักษณะทางพุทธศิลป์เช่นนี้ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัยให้ความ ดินแดนล้านนา จากนั้นสุโขทัย อยุธยา นครศรีธรรมราช และเมืองต่าง ๆ
เห็นว่าใกล้เคียงอย่างมากกับพระพุทธรูปล้านนาในกลุ่มที่มีอิทธิพล ที่กล่าวถึงในต�านาน จึงสร้างพระพุทธรูปขึ้นตามต�านานให้มีลักษณะ
ของศิลปะสุโขทัยที่เรียกว่า พระพุทธรูปแบบสิงห์สอง แต่มีส่วน แบบเดียวกับพระพุทธสิหิงค์ของชาวล้านนา ซึ่งตรงกันข้ามกับต�านาน
40