Page 47 - Culture3-2017
P. 47
๓ ๔
ภาพ ๑ เสียงพำกย์ของโฆษกช่วยเติมสีสันให้งำนสนุกสนำนยิ่งขึ้น ภาพ ๒-๓ ไม่ว่ำจะวัยไหน เมื่อลงแข่งขันแล้วมักจะทุ่มเทและสนุกสนำนไปกับกำรชักเย่อเสมอ
ภาพ ๔ เวลำที่ทีมผู้ชำยลงแข่งขัน กำรต่อสู้จะเข้มข้นสูสีและจริงจัง ภาพ ๕ ประทีป ทศำนนท์ มือตีกลองอันดับหนึ่งแห่งต�ำบลตะปอน
ต�ำบลตะปอนเป็นผ้ำที่มีรอยพระบำทจ�ำลองมำตั้งไว้บนเกวียน จึง
เรียกว่ำกำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำท ในอดีตเป็นกำรแข่งขันเพื่อ
แย่งสิทธิ์ในกำรถือครองผ้ำพระบำทหรือถือครองสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่ใน
ปัจจุบันเป็นกำรเล่นเพื่อควำมสนุกสนำนและเสริมสร้ำงควำมสำมัคคี
ในชุมชนเป็นส�ำคัญ และเป็นกำรสืบทอดประเพณีกำรเล่นโบรำณ
ซึ่งกำรละเล่นนี้นิยมเล่นกันในภำคตะวันออกของไทย โดยเฉพำะที่
ต�ำบลตะปอนเป็นชุมชนที่มีกำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำทสืบทอด
ต่อกันมำยำวนำนที่สุด อีกทั้งยังคงได้รับควำมนิยมอยู่ในปัจจุบัน
ควำมแตกต่ำงของกำรเล่นชักเย่อเกวียนพระบำทกับกำรเล่น
ชักเย่อทั่วไป คือ ใช้เกวียนเป็นอุปกรณ์ในกำรเล่น โดยน�ำเชือกมำ
ผูกไว้ที่ด้ำนหน้ำและด้ำนหลังของเกวียน แบ่งชำวบ้ำนออกเป็นสองทีม
ถือเชือกอยู่คนละด้ำน และออกก�ำลังดึงเกวียนให้เคลื่อนผ่ำน
เส้นแดนที่ก�ำหนดไว้ ทีมใดสำมำรถท�ำได้ก็จะเป็นผู้ชนะ
ที่ลำนวัดตะปอนใหญ่ช่วงสำยวันที่ ๑๗ เมษำยน เต็มไปด้วย
ผู้คนที่มำตระเตรียมกำรส�ำหรับกำรท�ำบุญ สรงน�้ำพระ และต่อด้วย
กำรรดน�้ำด�ำหัวผู้ใหญ่ในชุมชน ซึ่งบรรยำกำศเต็มไปด้วยควำมอบอุ่น
อบอวลไปด้วยควำมรักและวิถีชีวิตแบบไทย ๆ เมื่อพิธีกำรเหล่ำนี้เสร็จ
สิ้นลงก็จะถึงเวลำของกำรเล่นส�ำคัญนั่นคือ ชักเย่อเกวียนพระบำท
เรำมีโอกำสได้พบกับ ประทีป ทศำนนท์ ชำยวัย ๗๔ ปี ที่ได้รับ
กำรยอมรับว่ำเป็นมือตีกลองอันดับหนึ่งของต�ำบลตะปอนส�ำหรับ
กำรละเล่นชักเย่อเกวียนพระบำท ประทีปบอกว่ำตีกลองมำตั้งแต่
หนุ่ม บนเกวียนพระบำทจะมีสองสิ่งส�ำคัญที่ขำดเสียมิได้ หนึ่งคือ
๕
กรกฎำคม-กันยำยน ๒๕๖๐ 45